• ประตูเปิดทางทิศตะวันตกเฉียงใต้

    เดือนนี้ หากรับราชการเป็นข้าราชการข้าของแผ่นดินจะได้ปูนบำเน็จบำนาญอย่างสมฐานะตำแหน่งเกียรติยศ งานวิชาการ งานสวยงาม จะมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับความสำเร็จนานัปการไหลหลั่งอย่างต่อเนื่อง เพราะมีดาวรุ่งโรจน์ ชื่อเสียง และความรู้จรมาสู่ เหมาะสำหรับผู้ที่มีความคิดริเริ่มธุรกิจใหม่ๆมีแนวคิดสร้างสรรค์กิจการงานก้าวหน้า ส่งผลทำให้จะคิดอ่านประการใดก็จะเสร็จกิจลุล่วงได้อย่างดี งานที่ติดต่อก็จะประสบความสำเร็จ เงินทองไหลมาเทมาร่ำรวยอย่างไม่รู้ตัว อีกทั้งสมาชิกลูกหลานจะขยันขันแข็ง ฉลาด สติปัญญาดี ส่งผลในเรื่องของการเรียนการศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ ผู้หลักผู้ใหญ่ในครอบครัวจะมีความสุขสงบ จะได้คนดีๆไปมาหาสู่ โชคดีมีโอกาสถูกหวยรวยหุ้น
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    ประตูเปิดทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เดือนนี้ หากรับราชการเป็นข้าราชการข้าของแผ่นดินจะได้ปูนบำเน็จบำนาญอย่างสมฐานะตำแหน่งเกียรติยศ งานวิชาการ งานสวยงาม จะมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับความสำเร็จนานัปการไหลหลั่งอย่างต่อเนื่อง เพราะมีดาวรุ่งโรจน์ ชื่อเสียง และความรู้จรมาสู่ เหมาะสำหรับผู้ที่มีความคิดริเริ่มธุรกิจใหม่ๆมีแนวคิดสร้างสรรค์กิจการงานก้าวหน้า ส่งผลทำให้จะคิดอ่านประการใดก็จะเสร็จกิจลุล่วงได้อย่างดี งานที่ติดต่อก็จะประสบความสำเร็จ เงินทองไหลมาเทมาร่ำรวยอย่างไม่รู้ตัว อีกทั้งสมาชิกลูกหลานจะขยันขันแข็ง ฉลาด สติปัญญาดี ส่งผลในเรื่องของการเรียนการศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ ผู้หลักผู้ใหญ่ในครอบครัวจะมีความสุขสงบ จะได้คนดีๆไปมาหาสู่ โชคดีมีโอกาสถูกหวยรวยหุ้น ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ 🔮 เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก👉 https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 382 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 241 มุมมอง 0 รีวิว
  • มีใครอยากได้วาปร้านอาหารแบบไหน คอมเมนต์มาได้เลยนะครับ ผมจะไปตามล่าหามาให้คร้าบ #Thaitimes #กินสาระนัวร์
    มีใครอยากได้วาปร้านอาหารแบบไหน คอมเมนต์มาได้เลยนะครับ ผมจะไปตามล่าหามาให้คร้าบ #Thaitimes #กินสาระนัวร์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 515 มุมมอง 0 รีวิว
  • 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 239 มุมมอง 0 รีวิว
  • Divorce is undoubtedly one of life's most challenging experiences, and the complexities involved can often be overwhelming. Amidst the emotional rollercoaster, the practical aspects of dividing assets, including your home, can add an extra layer of stress. In this blog post, we explore a solution that aims to simplify your divorce journey: selling your home stress-free to John Everett.
    http://ibuymobilehomes.org
    Divorce is undoubtedly one of life's most challenging experiences, and the complexities involved can often be overwhelming. Amidst the emotional rollercoaster, the practical aspects of dividing assets, including your home, can add an extra layer of stress. In this blog post, we explore a solution that aims to simplify your divorce journey: selling your home stress-free to John Everett. http://ibuymobilehomes.org
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 179 มุมมอง 0 รีวิว
  • 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    Photo Album 2/2
    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    11. รร.ชำนิพิทยาคม อ.ชำนิ จ.บุรีรัมย์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    12. รร.ทานสัมฤทธิ์วิทยา อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    13. รร.บ้านดอนนน อ.หลังสวน จ.ชุมพร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    14. รร.บ้านทุ่งว้า อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    15. รร.บ้านเนินสำราญราษฎร์พัฒนา อ.ไทรงาม จ.กำแพงเพชร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    16. รร.บ้านในกริม อ.หลังสวน จ.ชุมพร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    17. รร.บ้านวังตะเคียน อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    18. รร.พระซองสามัคคีวิทยา อ.นาแก จ.นครพนม
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    19. รร.วัดนางพระยา อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    20. วัดพระบรมธาตุ อ.เมือง จ.กำแพงเพชร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) Photo Album 2/2 ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 11. รร.ชำนิพิทยาคม อ.ชำนิ จ.บุรีรัมย์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 12. รร.ทานสัมฤทธิ์วิทยา อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 13. รร.บ้านดอนนน อ.หลังสวน จ.ชุมพร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 14. รร.บ้านทุ่งว้า อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 15. รร.บ้านเนินสำราญราษฎร์พัฒนา อ.ไทรงาม จ.กำแพงเพชร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 16. รร.บ้านในกริม อ.หลังสวน จ.ชุมพร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 17. รร.บ้านวังตะเคียน อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 18. รร.พระซองสามัคคีวิทยา อ.นาแก จ.นครพนม (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 19. รร.วัดนางพระยา อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) 20. วัดพระบรมธาตุ อ.เมือง จ.กำแพงเพชร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 69 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 53 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 244 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    Photo Album 1/2
    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67)
    02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) Photo Album 1/2 ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67) 02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 324 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    Photo Album 1/2
    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67)
    02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67)
    04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67)
    06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67)
    10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) Photo Album 1/2 ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 01. รร.วัดวุ้งสุทธาวาส อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 17 ก.ย.67) 02. รร.ทุ่งโพวิทยา อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 03. รร.อนุบาลหล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 ก.ย.67) 04. รร.เบญจมราชานุสรณ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 05. รร.บ้านดอนใจดี อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 21 ก.ย.67) 06. รร.อนุบาลหนองวัวซอ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 07. รร.วัดแหลมหว้า อ.เมือง จ.ชัยนาท (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 08. รร.วัดหนองโรง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 09. รร.ชุมชนบ้านหัววัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 27 ก.ย.67) 10. รร.กุดน้ำใสพิทยาคม อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 28 ก.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 311 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 77 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520
    วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024)

    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,520 วันพระ: ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๗ (17 September 2024) ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229 วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 354 มุมมอง 0 รีวิว
  • บ้านน้ำเคียงดิน ร้านอาหารสวย ชื่อดัง ริมถนนอักษะ พุทธมณฑลสาย 4 บรรยากาศร้านถูกตกแต่งออกมาเป็นสไตล์เยอรมันคันทรีไซด์ บรรยากาศดีเหมือนได้ไปนั่งทานข้าวอยู่ที่ต่างประเทศ ที่ร้านจัดสรรที่นั่งภายในร้านได้น่ารักสุดๆ เหมาะกับการไปนั่งกินลมชมบรรยากาศ พร้อมกับทานอาหารอร่อยๆ กับครอบครัว แถมมีพื้นที่สำหรับเจ้าตัวเล็กให้ได้วิ่งเล่น เดินเล่นได้อย่างจุใจเลย

    พิกัด : https://maps.app.goo.gl/3UyYw8FqWXZtDZXu5
    ที่อยู่ : ถนนอุทยาน แขวง ศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ
    ร้านเปิดบริการ : 17.00 - 23.00 น. (วันหยุด เปิด 11.00 น.)
    โทร : 09-2554-1630

    #ร้านอาหารครอบครัว #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    บ้านน้ำเคียงดิน ร้านอาหารสวย ชื่อดัง ริมถนนอักษะ พุทธมณฑลสาย 4 บรรยากาศร้านถูกตกแต่งออกมาเป็นสไตล์เยอรมันคันทรีไซด์ บรรยากาศดีเหมือนได้ไปนั่งทานข้าวอยู่ที่ต่างประเทศ ที่ร้านจัดสรรที่นั่งภายในร้านได้น่ารักสุดๆ เหมาะกับการไปนั่งกินลมชมบรรยากาศ พร้อมกับทานอาหารอร่อยๆ กับครอบครัว แถมมีพื้นที่สำหรับเจ้าตัวเล็กให้ได้วิ่งเล่น เดินเล่นได้อย่างจุใจเลย พิกัด : https://maps.app.goo.gl/3UyYw8FqWXZtDZXu5 ที่อยู่ : ถนนอุทยาน แขวง ศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ ร้านเปิดบริการ : 17.00 - 23.00 น. (วันหยุด เปิด 11.00 น.) โทร : 09-2554-1630 #ร้านอาหารครอบครัว #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    Like
    Yay
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 848 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 229 วันจันทร์: ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๗ (16 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๙ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 354 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 53 มุมมอง 0 รีวิว
  • Chocolate Ville ร้านดังย่านเลียบด่วน คงไม่ต้องอธิบายอะไรบ้างสำหรับที่นี่ เพราะทุกคนคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว เมนูเด็ดของที่นี่อย่างเมนูขาหมูเยอรมัน ก็นุ่มละมุนในปากไม่น้อย และอาหารสไตล์อิตาเลี่ยนของที่นี่ก็โดดเด่นไม่แพ้กัน รวมไปถึงวิวบรรยากาศก็ชิลสุดๆ มีมุมสวยๆ ให้ถ่ารูปได้ฟีลเหมือนอยู่เมืองนอก เหมาะแก่การมานั่งพูดคุย สังสรรค์ กับครอบครัวและคนรู้ใจสุดๆ เลย
    พิกัด : https://maps.app.goo.gl/q9LrV9eyEwQAfT1PA
    ที่อยู่ : ถนนประเสริฐมนูญกิจ แขวง รามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพฯ
    ร้านเปิดบริการ : 15.00 - 24.00 น.
    Line : @chocolateville

    #ร้านอาหารครอบครัว #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    Chocolate Ville ร้านดังย่านเลียบด่วน คงไม่ต้องอธิบายอะไรบ้างสำหรับที่นี่ เพราะทุกคนคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว เมนูเด็ดของที่นี่อย่างเมนูขาหมูเยอรมัน ก็นุ่มละมุนในปากไม่น้อย และอาหารสไตล์อิตาเลี่ยนของที่นี่ก็โดดเด่นไม่แพ้กัน รวมไปถึงวิวบรรยากาศก็ชิลสุดๆ มีมุมสวยๆ ให้ถ่ารูปได้ฟีลเหมือนอยู่เมืองนอก เหมาะแก่การมานั่งพูดคุย สังสรรค์ กับครอบครัวและคนรู้ใจสุดๆ เลย พิกัด : https://maps.app.goo.gl/q9LrV9eyEwQAfT1PA ที่อยู่ : ถนนประเสริฐมนูญกิจ แขวง รามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพฯ ร้านเปิดบริการ : 15.00 - 24.00 น. Line : @chocolateville #ร้านอาหารครอบครัว #กินสาระนัวร์ #Thaitimes
    Like
    Love
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 746 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • การออกจากเปโตดอลลาร์ของซาอุดีอาระเบียจะเพิ่มอำนาจต่อรองทางการทูต-เศรษฐกิจ

    ขอบคุณภาพจาก bhattandjoshiassociates.com/

    ระบบ Petrodollar ถือเป็นรากฐานสำคัญของการค้าโลกมาตั้งแต่ทศวรรษ 1970 โดยเชื่อมโยงการขายน้ำมันกับดอลลาร์สหรัฐฯ และเสริมสร้างอำนาจเหนือของดอลลาร์ในตลาดต่างประเทศ เมื่อไม่นานนี้ ซาอุดีอาระเบียตัดสินใจออกจากข้อตกลงที่มีมายาวนานนี้ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวอาจเพิ่มอำนาจต่อรองทางการทูตและเศรษฐกิจในเวทีโลกได้อย่างมีนัยสำคัญ บทความนี้จะสำรวจปัจจัยที่นำไปสู่การออกจากระบบ Petrodollar ของซาอุดีอาระเบีย ประโยชน์ของระบบนี้ และผลกระทบที่กว้างขึ้นต่อการทูตและการค้าระดับโลก

    ระบบ Petrodollar ถือกำเนิดขึ้นในทศวรรษ 1970 เมื่อสหรัฐอเมริกาและซาอุดีอาระเบียตกลงที่จะกำหนดราคาน้ำมันเป็นดอลลาร์สหรัฐฯ เท่านั้น ระบบนี้ช่วยเสริมสถานะของดอลลาร์ให้เป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก ทำให้มีความต้องการดอลลาร์อย่างต่อเนื่อง และบูรณาการตลาดน้ำมันโลกเข้ากับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ เป็นเวลาหลายทศวรรษที่ข้อตกลงนี้มีอิทธิพลต่อพลวัตของการค้าโลกและเสริมสร้างบทบาทสำคัญของดอลลาร์ในระบบการเงินระหว่างประเทศ

    สำหรับปัจจัยที่นำไปสู่การถอนตัวของซาอุดีอาระเบียจากค่าเงินเปโตรดอลลาร์ คือ

    1. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลก
    สงครามรัสเซีย-ยูเครนส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อตลาดพลังงานโลก ความขัดแย้งส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักและความผันผวนอย่างมาก ส่งผลให้ราคาน้ำมันพุ่งสูงขึ้นเป็นประมาณ 130 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลในเดือนมีนาคม 2022 การพุ่งสูงขึ้นของราคานี้สร้างโอกาสให้ประเทศผู้ส่งออกน้ำมันสามารถใช้ประโยชน์จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นได้ ซาอุดีอาระเบียซึ่งเห็นพลวัตเหล่านี้มองเห็นข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ในการกระจายการใช้สกุลเงินสำหรับการขายน้ำมันเพื่อบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเพิ่มเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

    2. พันธมิตรเชิงกลยุทธ์และการกระจายความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ
    ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นของซาอุดีอาระเบียกับจีนและประเทศ BRICS อื่นๆ มีบทบาทสำคัญในการตัดสินใจครั้งนี้ การที่ซาอุดีอาระเบียเป็นสมาชิกของ BRICS ร่วมกับประเทศต่างๆ เช่น รัสเซีย จีน อินเดีย และแอฟริกาใต้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่กว้างขึ้นในการลดการพึ่งพาระบบการเงินของตะวันตก โครงการต่างๆ เช่น Project mBridge ซึ่งสำรวจแพลตฟอร์มดิจิทัลหลายสกุลเงิน ยังเน้นย้ำถึงความมุ่งมั่นของซาอุดีอาระเบียในการกระจายพันธมิตรทางเศรษฐกิจและการดำเนินการทางการเงิน

    ส่วนประโยชน์ของการออกจากระบบ Petrodollar ของซาอุดีอาระเบีย คือ

    1. ความยืดหยุ่นและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
    ด้วยการซื้อขายสกุลเงินหลายสกุล ซาอุดีอาระเบียจึงลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งจะช่วยบรรเทาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความผันผวนของเงินดอลลาร์ ความยืดหยุ่นทางเศรษฐกิจนี้ช่วยให้มีกระแสรายได้ที่มั่นคงมากขึ้น และทำให้ซาอุดีอาระเบียสามารถรับมือกับความไม่แน่นอนทางการเงินระดับโลกได้ดีขึ้น

    2. การเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้า
    การเจรจาเงื่อนไขการค้าเฉพาะประเทศและเฉพาะสกุลเงินช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ทวิภาคีกับพันธมิตรทางการค้ารายใหญ่ ตัวอย่างเช่น การซื้อขายน้ำมันด้วยเงินหยวนของจีนหรือเงินรูปีอินเดียไม่เพียงแต่อำนวยความสะดวกในการทำธุรกรรมเท่านั้น แต่ยังช่วยเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับตลาดสำคัญเหล่านี้อีกด้วย ส่งเสริมให้ความร่วมมือทางการค้ามีความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นมากขึ้น

    3. อำนาจการต่อรองที่เพิ่มขึ้น
    การยอมรับสกุลเงินหลายสกุลช่วยปรับปรุงตำแหน่งทางการตลาดของซาอุดีอาระเบียด้วยการทำให้ราคาน้ำมันน่าดึงดูดใจสำหรับผู้ซื้อในวงกว้างมากขึ้น ความยืดหยุ่นดังกล่าวสามารถนำไปสู่เงื่อนไขการค้าที่เอื้ออำนวยมากขึ้น เช่น ราคาที่ดีขึ้น เสถียรภาพด้านอุปทาน และการลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นในโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีของซาอุดีอาระเบีย

    4. อิทธิพลทางการทูต เอกราชทางการเมือง
    การลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ซาอุดีอาระเบียมีอิสระมากขึ้นในนโยบายต่างประเทศ เอกราชนี้ทำให้ซาอุดีอาระเบียสามารถดำเนินตามผลประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ได้โดยไม่ถูกอิทธิพลทางเศรษฐกิจและการเมืองของสหรัฐฯ มากเกินไป จึงช่วยเพิ่มอิทธิพลทางการทูตบนเวทีโลก

    5. ความเป็นกลางทางยุทธศาสตร์
    ในบริบทของความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ระดับโลก โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ จีน และรัสเซีย ความสามารถของซาอุดีอาระเบียในการค้าสกุลเงินหลายสกุลทำให้ซาอุดีอาระเบียสามารถรักษาตำแหน่งที่เป็นกลางและมียุทธศาสตร์มากขึ้นได้ ความเป็นกลางนี้สามารถใช้ประโยชน์เพื่อสร้างสมดุลให้กับความสัมพันธ์กับมหาอำนาจระดับโลกที่แข่งขันกัน ซึ่งจะทำให้ซาอุดีอาระเบียมีอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์สูงสุด

    ขณะเดียวกันก็มีผลกระทบในอนาคต ดังนี้

    1. ผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    เนื่องจากมีประเทศต่างๆ มากขึ้นที่เดินตามรอยซาอุดีอาระเบียในการเลิกใช้เงินดอลลาร์ อิทธิพลของเงินดอลลาร์สหรัฐในการค้าโลกอาจลดน้อยลง การเพิ่มขึ้นของสกุลเงินทางเลือกและแพลตฟอร์มการชำระเงินดิจิทัลอาจเปลี่ยนแปลงระบบการเงินระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดระเบียบเศรษฐกิจแบบหลายขั้วมากขึ้น และ

    2. บทบาทของซาอุดีอาระเบียในการค้าโลก
    การที่ซาอุดีอาระเบียออกจากระบบเปโตรดอลลาร์ทำให้ซาอุดีอาระเบียมีบทบาทสำคัญในการกำหนดอนาคตของการค้าโลก ความสามารถในการมีอิทธิพลต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและแนวทางการค้าผ่านการใช้สกุลเงินที่หลากหลายและพันธมิตรเชิงกลยุทธ์จะมีความสำคัญอย่างยิ่งในภูมิทัศน์ระหว่างประเทศที่กำลังเปลี่ยนแปลงไป

    การตัดสินใจของซาอุดีอาระเบียที่จะออกจากระบบเปโตรดอลลาร์ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในพลวัตทางเศรษฐกิจโลก การนำสกุลเงินหลายสกุลมาใช้และเสริมสร้างพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ทำให้ซาอุดีอาระเบียมีอำนาจต่อรองทางการทูตและเศรษฐกิจมากขึ้น การเคลื่อนไหวครั้งนี้ไม่เพียงแต่ส่งเสริมเสถียรภาพและความยืดหยุ่นที่มากขึ้นสำหรับซาอุดีอาระเบียเท่านั้น แต่ยังสร้างเวทีสำหรับยุคใหม่ในการค้าและการทูตโลก ซึ่งระบบการเงินที่หลากหลายและความเป็นกลางทางยุทธศาสตร์มีบทบาทสำคัญเพิ่มมากขึ้น

    IMCT News

    ที่มา https://bhattandjoshiassociates.com/saudi-arabias-petrodollar-exit-enhancing-diplomatic-and-economic-leverage/
    การออกจากเปโตดอลลาร์ของซาอุดีอาระเบียจะเพิ่มอำนาจต่อรองทางการทูต-เศรษฐกิจ ขอบคุณภาพจาก bhattandjoshiassociates.com/ ระบบ Petrodollar ถือเป็นรากฐานสำคัญของการค้าโลกมาตั้งแต่ทศวรรษ 1970 โดยเชื่อมโยงการขายน้ำมันกับดอลลาร์สหรัฐฯ และเสริมสร้างอำนาจเหนือของดอลลาร์ในตลาดต่างประเทศ เมื่อไม่นานนี้ ซาอุดีอาระเบียตัดสินใจออกจากข้อตกลงที่มีมายาวนานนี้ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวอาจเพิ่มอำนาจต่อรองทางการทูตและเศรษฐกิจในเวทีโลกได้อย่างมีนัยสำคัญ บทความนี้จะสำรวจปัจจัยที่นำไปสู่การออกจากระบบ Petrodollar ของซาอุดีอาระเบีย ประโยชน์ของระบบนี้ และผลกระทบที่กว้างขึ้นต่อการทูตและการค้าระดับโลก ระบบ Petrodollar ถือกำเนิดขึ้นในทศวรรษ 1970 เมื่อสหรัฐอเมริกาและซาอุดีอาระเบียตกลงที่จะกำหนดราคาน้ำมันเป็นดอลลาร์สหรัฐฯ เท่านั้น ระบบนี้ช่วยเสริมสถานะของดอลลาร์ให้เป็นสกุลเงินสำรองหลักของโลก ทำให้มีความต้องการดอลลาร์อย่างต่อเนื่อง และบูรณาการตลาดน้ำมันโลกเข้ากับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ เป็นเวลาหลายทศวรรษที่ข้อตกลงนี้มีอิทธิพลต่อพลวัตของการค้าโลกและเสริมสร้างบทบาทสำคัญของดอลลาร์ในระบบการเงินระหว่างประเทศ สำหรับปัจจัยที่นำไปสู่การถอนตัวของซาอุดีอาระเบียจากค่าเงินเปโตรดอลลาร์ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลก สงครามรัสเซีย-ยูเครนส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อตลาดพลังงานโลก ความขัดแย้งส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักและความผันผวนอย่างมาก ส่งผลให้ราคาน้ำมันพุ่งสูงขึ้นเป็นประมาณ 130 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลในเดือนมีนาคม 2022 การพุ่งสูงขึ้นของราคานี้สร้างโอกาสให้ประเทศผู้ส่งออกน้ำมันสามารถใช้ประโยชน์จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นได้ ซาอุดีอาระเบียซึ่งเห็นพลวัตเหล่านี้มองเห็นข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ในการกระจายการใช้สกุลเงินสำหรับการขายน้ำมันเพื่อบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเพิ่มเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2. พันธมิตรเชิงกลยุทธ์และการกระจายความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นของซาอุดีอาระเบียกับจีนและประเทศ BRICS อื่นๆ มีบทบาทสำคัญในการตัดสินใจครั้งนี้ การที่ซาอุดีอาระเบียเป็นสมาชิกของ BRICS ร่วมกับประเทศต่างๆ เช่น รัสเซีย จีน อินเดีย และแอฟริกาใต้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่กว้างขึ้นในการลดการพึ่งพาระบบการเงินของตะวันตก โครงการต่างๆ เช่น Project mBridge ซึ่งสำรวจแพลตฟอร์มดิจิทัลหลายสกุลเงิน ยังเน้นย้ำถึงความมุ่งมั่นของซาอุดีอาระเบียในการกระจายพันธมิตรทางเศรษฐกิจและการดำเนินการทางการเงิน ส่วนประโยชน์ของการออกจากระบบ Petrodollar ของซาอุดีอาระเบีย คือ 1. ความยืดหยุ่นและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ด้วยการซื้อขายสกุลเงินหลายสกุล ซาอุดีอาระเบียจึงลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งจะช่วยบรรเทาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับความผันผวนของเงินดอลลาร์ ความยืดหยุ่นทางเศรษฐกิจนี้ช่วยให้มีกระแสรายได้ที่มั่นคงมากขึ้น และทำให้ซาอุดีอาระเบียสามารถรับมือกับความไม่แน่นอนทางการเงินระดับโลกได้ดีขึ้น 2. การเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้า การเจรจาเงื่อนไขการค้าเฉพาะประเทศและเฉพาะสกุลเงินช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ทวิภาคีกับพันธมิตรทางการค้ารายใหญ่ ตัวอย่างเช่น การซื้อขายน้ำมันด้วยเงินหยวนของจีนหรือเงินรูปีอินเดียไม่เพียงแต่อำนวยความสะดวกในการทำธุรกรรมเท่านั้น แต่ยังช่วยเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับตลาดสำคัญเหล่านี้อีกด้วย ส่งเสริมให้ความร่วมมือทางการค้ามีความแข็งแกร่งและยืดหยุ่นมากขึ้น 3. อำนาจการต่อรองที่เพิ่มขึ้น การยอมรับสกุลเงินหลายสกุลช่วยปรับปรุงตำแหน่งทางการตลาดของซาอุดีอาระเบียด้วยการทำให้ราคาน้ำมันน่าดึงดูดใจสำหรับผู้ซื้อในวงกว้างมากขึ้น ความยืดหยุ่นดังกล่าวสามารถนำไปสู่เงื่อนไขการค้าที่เอื้ออำนวยมากขึ้น เช่น ราคาที่ดีขึ้น เสถียรภาพด้านอุปทาน และการลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นในโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีของซาอุดีอาระเบีย 4. อิทธิพลทางการทูต เอกราชทางการเมือง การลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ทำให้ซาอุดีอาระเบียมีอิสระมากขึ้นในนโยบายต่างประเทศ เอกราชนี้ทำให้ซาอุดีอาระเบียสามารถดำเนินตามผลประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ได้โดยไม่ถูกอิทธิพลทางเศรษฐกิจและการเมืองของสหรัฐฯ มากเกินไป จึงช่วยเพิ่มอิทธิพลทางการทูตบนเวทีโลก 5. ความเป็นกลางทางยุทธศาสตร์ ในบริบทของความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ระดับโลก โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ จีน และรัสเซีย ความสามารถของซาอุดีอาระเบียในการค้าสกุลเงินหลายสกุลทำให้ซาอุดีอาระเบียสามารถรักษาตำแหน่งที่เป็นกลางและมียุทธศาสตร์มากขึ้นได้ ความเป็นกลางนี้สามารถใช้ประโยชน์เพื่อสร้างสมดุลให้กับความสัมพันธ์กับมหาอำนาจระดับโลกที่แข่งขันกัน ซึ่งจะทำให้ซาอุดีอาระเบียมีอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์สูงสุด ขณะเดียวกันก็มีผลกระทบในอนาคต ดังนี้ 1. ผลกระทบต่อระบบการเงินโลก เนื่องจากมีประเทศต่างๆ มากขึ้นที่เดินตามรอยซาอุดีอาระเบียในการเลิกใช้เงินดอลลาร์ อิทธิพลของเงินดอลลาร์สหรัฐในการค้าโลกอาจลดน้อยลง การเพิ่มขึ้นของสกุลเงินทางเลือกและแพลตฟอร์มการชำระเงินดิจิทัลอาจเปลี่ยนแปลงระบบการเงินระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดระเบียบเศรษฐกิจแบบหลายขั้วมากขึ้น และ 2. บทบาทของซาอุดีอาระเบียในการค้าโลก การที่ซาอุดีอาระเบียออกจากระบบเปโตรดอลลาร์ทำให้ซาอุดีอาระเบียมีบทบาทสำคัญในการกำหนดอนาคตของการค้าโลก ความสามารถในการมีอิทธิพลต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและแนวทางการค้าผ่านการใช้สกุลเงินที่หลากหลายและพันธมิตรเชิงกลยุทธ์จะมีความสำคัญอย่างยิ่งในภูมิทัศน์ระหว่างประเทศที่กำลังเปลี่ยนแปลงไป การตัดสินใจของซาอุดีอาระเบียที่จะออกจากระบบเปโตรดอลลาร์ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในพลวัตทางเศรษฐกิจโลก การนำสกุลเงินหลายสกุลมาใช้และเสริมสร้างพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ทำให้ซาอุดีอาระเบียมีอำนาจต่อรองทางการทูตและเศรษฐกิจมากขึ้น การเคลื่อนไหวครั้งนี้ไม่เพียงแต่ส่งเสริมเสถียรภาพและความยืดหยุ่นที่มากขึ้นสำหรับซาอุดีอาระเบียเท่านั้น แต่ยังสร้างเวทีสำหรับยุคใหม่ในการค้าและการทูตโลก ซึ่งระบบการเงินที่หลากหลายและความเป็นกลางทางยุทธศาสตร์มีบทบาทสำคัญเพิ่มมากขึ้น IMCT News ที่มา https://bhattandjoshiassociates.com/saudi-arabias-petrodollar-exit-enhancing-diplomatic-and-economic-leverage/
    BHATTANDJOSHIASSOCIATES.COM
    Saudi Arabia’s Petrodollar Exit: Enhancing Diplomatic and Economic Leverage - Bhatt & Joshi Associates
    Explore the impact of Saudi Arabia’s petrodollar exit on global diplomacy, trade dynamics, and economic stability.
    Like
    11
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2153 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • ค่ายรถจีนแซงหน้ายักษ์ใหญ่ในตะวันตกด้านต้นทุนและคุณภาพ
    ขอบคุณภาพจาก CGTN
    16.09.2024
    ผู้ผลิตรถยนต์จีนใช้ประโยชน์จากต้นทุนแรงงานที่ลดต่ำลง การเข้าถึงวัตถุดิบที่ถูกกว่า และกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพเพื่อผลิตยานยนต์ในราคาที่ถูกลงอย่างมาก ข้อได้เปรียบด้านต้นทุนนี้ช่วยให้พวกเขาสามารถเสนอราคาที่แข่งขันในตลาดโลกได้

    แบรนด์รถยนต์จีนได้ก้าวหน้าอย่างมากในการควบคุมคุณภาพในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยได้ลงทุนอย่างหนักในเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพที่เข้มงวด และระบบการจัดการการจัดการซัพพลายเออร์ เพื่อให้แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ของพวกเขาเป็นไปตามมาตรฐานสากลหรือเกินกว่านั้น การเน้นย้ำด้านคุณภาพนี้ช่วยปรับปรุงการรับรู้เกี่ยวกับแบรนด์จีนในหมู่ผู้บริโภคทั่วโลก

    ผู้ผลิตรถยนต์จีนยังเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยทุ่มลงทุนมหาศาลในรถยนต์ไฟฟ้า (EV) ระบบขับขี่อัตโนมัติ และฟีเจอร์ขั้นสูงอื่นๆ แบรนด์จีนจึงมักแซงหน้าผู้ผลิตรถยนต์แบบดั้งเดิมในแง่ของฟีเจอร์และความสามารถทางเทคโนโลยี โดยวางตำแหน่งตัวเองให้เป็นผู้นำในอนาคตของการเดินทาง

    ผู้ผลิตรถยนต์จีนกำลังขยายฐานการผลิตทั่วโลกอย่างแข็งขัน โดยมุ่งเป้าไปที่ตลาดในยุโรป อเมริกาเหนือ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยกำลังสร้างโรงงานผลิต จัดตั้งเครือข่ายการขายและการจัดจำหน่าย และจับมือเป็นพันธมิตรกับบริษัทในท้องถิ่นเพื่อสร้างฐานที่มั่นในภูมิภาคเหล่านี้ กลยุทธ์การขยายตัวนี้ช่วยให้แบรนด์จีนเข้าถึงฐานลูกค้าที่กว้างขึ้นและแข่งขันโดยตรงกับผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ในตะวันตกอย่าง Ford และ GM ได้

    By IMCT NEWS
    อ้างอิงจาก: https://www.njcee.org/finance/chinese-automakers-are-far-ahead-of-ford-and-gm-on-cost-and-quality.html





    ค่ายรถจีนแซงหน้ายักษ์ใหญ่ในตะวันตกด้านต้นทุนและคุณภาพ ขอบคุณภาพจาก CGTN 16.09.2024 ผู้ผลิตรถยนต์จีนใช้ประโยชน์จากต้นทุนแรงงานที่ลดต่ำลง การเข้าถึงวัตถุดิบที่ถูกกว่า และกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพเพื่อผลิตยานยนต์ในราคาที่ถูกลงอย่างมาก ข้อได้เปรียบด้านต้นทุนนี้ช่วยให้พวกเขาสามารถเสนอราคาที่แข่งขันในตลาดโลกได้ แบรนด์รถยนต์จีนได้ก้าวหน้าอย่างมากในการควบคุมคุณภาพในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยได้ลงทุนอย่างหนักในเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง ขั้นตอนการทดสอบคุณภาพที่เข้มงวด และระบบการจัดการการจัดการซัพพลายเออร์ เพื่อให้แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ของพวกเขาเป็นไปตามมาตรฐานสากลหรือเกินกว่านั้น การเน้นย้ำด้านคุณภาพนี้ช่วยปรับปรุงการรับรู้เกี่ยวกับแบรนด์จีนในหมู่ผู้บริโภคทั่วโลก ผู้ผลิตรถยนต์จีนยังเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยทุ่มลงทุนมหาศาลในรถยนต์ไฟฟ้า (EV) ระบบขับขี่อัตโนมัติ และฟีเจอร์ขั้นสูงอื่นๆ แบรนด์จีนจึงมักแซงหน้าผู้ผลิตรถยนต์แบบดั้งเดิมในแง่ของฟีเจอร์และความสามารถทางเทคโนโลยี โดยวางตำแหน่งตัวเองให้เป็นผู้นำในอนาคตของการเดินทาง ผู้ผลิตรถยนต์จีนกำลังขยายฐานการผลิตทั่วโลกอย่างแข็งขัน โดยมุ่งเป้าไปที่ตลาดในยุโรป อเมริกาเหนือ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยกำลังสร้างโรงงานผลิต จัดตั้งเครือข่ายการขายและการจัดจำหน่าย และจับมือเป็นพันธมิตรกับบริษัทในท้องถิ่นเพื่อสร้างฐานที่มั่นในภูมิภาคเหล่านี้ กลยุทธ์การขยายตัวนี้ช่วยให้แบรนด์จีนเข้าถึงฐานลูกค้าที่กว้างขึ้นและแข่งขันโดยตรงกับผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ในตะวันตกอย่าง Ford และ GM ได้ By IMCT NEWS อ้างอิงจาก: https://www.njcee.org/finance/chinese-automakers-are-far-ahead-of-ford-and-gm-on-cost-and-quality.html
    Like
    14
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1364 มุมมอง 0 รีวิว