0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
15 มุมมอง
0 รีวิว
รายการ
ค้นพบผู้คนใหม่ๆ สร้างการเชื่อมต่อใหม่ๆ และรู้จักเพื่อนใหม่
- กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น!
-
- https://youtu.be/xztFKhSPyUQ?si=ZJP2E6ilANDiJVTM0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
- อริยสาวกพึงศึกษาวิภาคแห่งเวทนาขันธ์
สัทธรรมลำดับที่ : 133
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=133
ชื่อบทธรรม : -๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์
เนื้อความทั้งหมด :-
๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์
--เวทนาหก
--ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้คือ
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น,
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ
เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ.
ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #เวทนา.-
http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=เวทนากายา
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114.
http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=133
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=133
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3อริยสาวกพึงศึกษาวิภาคแห่งเวทนาขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 133 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=133 ชื่อบทธรรม : -๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- ๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์ --เวทนาหก --ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #เวทนา.- http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=เวทนากายา #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/58/114. http://etipitaka.com/read/thai/17/58/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๓/๑๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/73/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=133 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=133 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์-๒. วิภาคแห่งเวทนาขันธ์ เวทนาหก ภิกษุ ท. ! เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งเวทนาหกเหล่านี้คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า เวทนา.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 184 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้
สัทธรรมลำดับที่ : 568
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=568
ชื่อบทธรรม : -ผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้
เนื้อความทั้งหมด :-
--ผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้
--ภิกษุ ท. ! ตลอดกาลเพียงใด ที่สัตว์ทั้งหลาย
ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่งรสอร่อย
ของอุปาทานขันธ์ห้าเหล่านี้ โดยความเป็นรสอร่อย.
ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่ง โทษ
ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นโทษ,
ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่ง อุบายออกพ้นไปได้
จากอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นอุบายให้ออกพ้นไป ;
--ภิกษุ ท. ! ตลอดกาลเพียงนั้น สัตว์ทั้งหลาย
ก็ยังไม่ชื่อว่าเป็นผู้ได้แล่นหลุดออกไป.
ยังไม่ชื่อว่าเป็นผู้ปราศจากเครื่องเกี่ยวเกาะหลุดพ้นแล้ว,
ยังเป็นผู้มีใจอันอยู่ในขอบเขตโลกนี้ ขอบเขตเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
ยังอยู่ในขอบเขตของหมู่สัตว์ หมู่สมณะ หมู่พราหมณ์
และในขอบเขตของเหล่าเทวดาและมนุษย์ อยู่นั่นเอง.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล สัตว์ทั้งหลาย
มารู้ยิ่งตามเป็นจริงแล้ว &ซึ่งรสอร่อย ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นรสอร่อย,
ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริงซึ่ง &โทษ ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นโทษ,
ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริงซึ่ง &อุบายออกพ้นไปได้ จากอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นอุบายให้ออกพ้นไป ;
--ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้นแหละ สัตว์เหล่านั้น
ชื่อว่าเป็นผู้ ได้แล่นหลุดออกไป เป็นผู้ปราศจากเครื่องเกี่ยวเกาะ หลุดพ้นแล้ว
#เป็นผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้
http://etipitaka.com/read/pali/17/38/?keywords=เจตสา+วิหรนฺตีติ
เป็นอยู่ในโลกนี้ ในเทวโลก มารโลก พรหมโลก,
เป็นอยู่ในหมู่สัตว์ หมู่สมณะ หมู่พราหมณ์ ในเหล่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ดังนี้.-
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/29/63.
http://etipitaka.com/read/thai/17/29/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๘/๖๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/38/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=568
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=568
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37
ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้ สัทธรรมลำดับที่ : 568 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=568 ชื่อบทธรรม : -ผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้ --ภิกษุ ท. ! ตลอดกาลเพียงใด ที่สัตว์ทั้งหลาย ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่งรสอร่อย ของอุปาทานขันธ์ห้าเหล่านี้ โดยความเป็นรสอร่อย. ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่ง โทษ ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นโทษ, ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่ง อุบายออกพ้นไปได้ จากอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นอุบายให้ออกพ้นไป ; --ภิกษุ ท. ! ตลอดกาลเพียงนั้น สัตว์ทั้งหลาย ก็ยังไม่ชื่อว่าเป็นผู้ได้แล่นหลุดออกไป. ยังไม่ชื่อว่าเป็นผู้ปราศจากเครื่องเกี่ยวเกาะหลุดพ้นแล้ว, ยังเป็นผู้มีใจอันอยู่ในขอบเขตโลกนี้ ขอบเขตเทวโลก มารโลก พรหมโลก, ยังอยู่ในขอบเขตของหมู่สัตว์ หมู่สมณะ หมู่พราหมณ์ และในขอบเขตของเหล่าเทวดาและมนุษย์ อยู่นั่นเอง. --ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล สัตว์ทั้งหลาย มารู้ยิ่งตามเป็นจริงแล้ว &ซึ่งรสอร่อย ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นรสอร่อย, ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริงซึ่ง &โทษ ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นโทษ, ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริงซึ่ง &อุบายออกพ้นไปได้ จากอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นอุบายให้ออกพ้นไป ; --ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้นแหละ สัตว์เหล่านั้น ชื่อว่าเป็นผู้ ได้แล่นหลุดออกไป เป็นผู้ปราศจากเครื่องเกี่ยวเกาะ หลุดพ้นแล้ว #เป็นผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้ http://etipitaka.com/read/pali/17/38/?keywords=เจตสา+วิหรนฺตีติ เป็นอยู่ในโลกนี้ ในเทวโลก มารโลก พรหมโลก, เป็นอยู่ในหมู่สัตว์ หมู่สมณะ หมู่พราหมณ์ ในเหล่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/29/63. http://etipitaka.com/read/thai/17/29/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๘/๖๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/38/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=568 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37&id=568 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=37 ลำดับสาธยายธรรม : 37 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_37.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้-ผู้มีจิตอันหาขอบเขตมิได้ ภิกษุ ท. ! ตลอดกาลเพียงใด ที่สัตว์ทั้งหลาย ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่งรสอร่อย ของอุปาทานขันธ์ห้าเหล่านี้ โดยความเป็นรสอร่อย. ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่ง โทษ ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นโทษ, ยังไม่ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริง ซึ่ง อุบายออกพ้นไปได้ จากอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นอุบายให้ออกพ้นไป ; ภิกษุ ท. ! ตลอดกาลเพียงนั้น สัตว์ทั้งหลาย ก็ ยังไม่ชื่อว่าเป็นผู้ได้แล่นหลุดออกไป. ยังไม่ชื่อว่าเป็นผู้ปราศจากเครื่องเกี่ยวเกาะหลุดพ้นแล้ว, ยังเป็นผู้มีใจอันอยู่ในขอบเขตโลกนี้ ขอบเขตเทวโลก มารโลก พรหมโลก, ยังอยู่ในขอบเขตของหมู่สัตว์ หมู่สมณะ หมู่พราหมณ์ และในขอบเขตของเหล่าเทวดาและมนุษย์ อยู่นั่นเอง. ภิกษุ ท. ! เมื่อใดแล สัตว์ทั้งหลาย มารู้ยิ่งตามเป็นจริงแล้ว ซึ่งรสอร่อย ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นรสอร่อย, ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริงซึ่ง โทษ ของอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นโทษ, ได้รู้ยิ่งตามเป็นจริงซึ่ง อุบายออกพ้นไปได้ จากอุปาทานขันธ์ห้า โดยความเป็นอุบายให้ออกพ้นไป ; ภิกษุ ท. ! เมื่อนั้นแหละ สัตว์เหล่านั้น ชื่อว่าเป็นผู้ ได้แล่นหลุดออกไป เป็นผู้ปราศจากเครื่องเกี่ยวเกาะ หลุดพ้นแล้ว เป็นผู้มีใจอันหาขอบเขตมิได้ เป็นอยู่ในโลกนี้ ในเทวโลก มารโลก พรหมโลก, เป็นอยู่ในหมู่สัตว์ หมู่สมณะ หมู่พราหมณ์ ในเหล่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ดังนี้.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 219 มุมมอง 0 รีวิว - อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
สัทธรรมลำดับที่ : 940
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940
ชื่อบทธรรม : -ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
เนื้อความทั้งหมด :-
--ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน
--ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า อยู่เถิด.
เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่,
ญาณ ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว.
ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการ คือ :-
http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=ปญฺจ+ญาณ
๑--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
“สมาธินี้ ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย”;
๒--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
“สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส”;
๓--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
“สมาธินี้ คนชั่วคนถ่อยเสพไม่ได้”;
๔--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า
“สมาธินี้ รำงับประณีตได้แล้วด้วยปฏิปัสสัทธิ
ถึงทับแล้วด้วยเอโกทิภาวะ (ความที่จิตมีธรรมอันเอก)
ไม่ใช่บรรลุได้เพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสังขารธรรม (การปรุงและประกอบ)";
๕--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั้นเทียว ดังนี้ ว่า
“เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้ มีสติออกจากสมาธินี้”.
--ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า
เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ
เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่,
ญาณ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อม เกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว
http://etipitaka.com/read/pali/22/26/?keywords=ปญฺจ+ญาณ
อย่างนี้แล.-
#สัมมาสมาธิ
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/22/27.
http://etipitaka.com/read/thai/22/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๕/๒๗.
http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=940
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80
ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน สัทธรรมลำดับที่ : 940 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940 ชื่อบทธรรม : -ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน เนื้อความทั้งหมด :- --ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า อยู่เถิด. เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการ คือ :- http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=ปญฺจ+ญาณ ๑--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย”; ๒--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส”; ๓--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ คนชั่วคนถ่อยเสพไม่ได้”; ๔--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ รำงับประณีตได้แล้วด้วยปฏิปัสสัทธิ ถึงทับแล้วด้วยเอโกทิภาวะ (ความที่จิตมีธรรมอันเอก) ไม่ใช่บรรลุได้เพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสังขารธรรม (การปรุงและประกอบ)"; ๕--ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั้นเทียว ดังนี้ ว่า “เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้ มีสติออกจากสมาธินี้”. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อม เกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว http://etipitaka.com/read/pali/22/26/?keywords=ปญฺจ+ญาณ อย่างนี้แล.- #สัมมาสมาธิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/22/27. http://etipitaka.com/read/thai/22/22/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๕/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/22/25/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=940 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80&id=940 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=80 ลำดับสาธยายธรรม : 80 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM- ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน-(ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง ๆ สามารถเจริญให้สมบูรณ์ออกไปได้ถึง ๗ ระดับ ดังที่แสดงไว้ในสูตรนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่ง. อีกอย่างหนึ่ง พึงสังเกตให้เห็นว่า สมาธิที่มีนิมิตเป็นนามธรรม เช่น การเจริญเมตตา ก็ดี และที่มีลักษณะเป็นวิปัสสนาเช่นกายนุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็ดี สามารถนำมาเจริญในรูปแบบของสมาธิที่มีลักษณะแบ่งได้เป็น ๗ ระดับอย่างในสูตรนี้ ; ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ตั้งต้นเจริญภาวนาในรูปแบบของวิปัสสนา แล้วอาจจะย้ำให้แน่นลงไปโดยอาการแห่งสมถะ ๗ ระดับนี้ ; อาจจะเรียกได้ว่ามีวิปัสสานานำหน้าสมถะได้กระมัง). ญาณ เกิดจากสมาธิของผู้ที่มีสติปัญญารักษาตน ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า อยู่เถิด. เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มี ประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว. ห้าประการอย่างไรเล่า? ห้าประการ คือ : ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย”; ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส”; ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ คนชั่วคนถ่อยเสพไม่ได้”; ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ ว่า “สมาธินี้ รำงับประณีตได้แล้วด้วยปฏิปัสสัทธิ ถึงทับแล้วด้วยเอโกทิภาวะ (ความที่จิตมีธรรมอันเอก) ไม่ใช่บรรลุได้เพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสังขารธรรม (เครื่องปรุงแต่ง); ญาณ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั้นเทียว ดังนี้ ว่า “เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้มีสติออกจากสมาธินี้”. ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้า เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่, ญาณ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อม เกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว อย่างนี้แล.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว - https://youtu.be/eVrY9wM6w5Q?si=_gDHkWpKGgs3qrIY0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/qVFy26ibM0Q?si=a3rIrxVPyjISs8AC0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/LdDzZJ2pS1w?si=11uMhnsh2lQqf5QY0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/EElfn2tYqmA?si=i59kJPLBNuKciwO40 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/48Im02p0frM?si=LUeCysFX-b_JDOrK0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/mNy3TrEgRas?si=HEQbpxiZwDrYxnxM0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/szeodmZoLuU?si=iYaxSbDlCgOj5tUO0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/V7FeRPpakD0?si=uDpTbt9H2W4CfKj-0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/Vf-WzUHgong?si=27_BoTF9f6nDjCYd0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/8KYz5FT1aVs?si=mAjek3yyM188mfJU0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 25 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/KMW4q7lKwo8?si=ymTI3xt1QEGjqYEP0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/IeUrt0RMh9k?si=AtZ98lXEkreCkcE20 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/fU6UF_k8TqQ?si=wjG1GaN6YHAo-Uv-0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/7Cf0-ACoyAo?si=4lgUbDPV3SkIdSRr0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtube.com/shorts/yGIeBDTsYhk?si=O87WJURXkcy5fRJL0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 42 มุมมอง 0 รีวิว
- บุญสัมพันธ์...
Cr.Wiwanบุญสัมพันธ์... Cr.Wiwan0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว - วิธียืดเส้น ใน กรณีพับตัวไม่ได้วิธียืดเส้น ใน กรณีพับตัวไม่ได้0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 3 0 รีวิว
-
-