0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
57 มุมมอง
0 รีวิว
รายการ
ค้นพบผู้คนใหม่ๆ สร้างการเชื่อมต่อใหม่ๆ และรู้จักเพื่อนใหม่
- กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น!
-
- มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐ ยืนยันว่า หลังจากจัดตั้งทีมเจรจาทั้งสองฝ่ายแล้ว จะมีการเชิญยูเครน และตัวแทนจากยุโรปเข้าร่วมกระบวนการด้วย แต่มีเงื่อนไขว่าทั้งหมดจะต้องยอมรับข้อตกลงระหว่างสหรัฐและรัสเซียเท่านั้นมาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐ ยืนยันว่า หลังจากจัดตั้งทีมเจรจาทั้งสองฝ่ายแล้ว จะมีการเชิญยูเครน และตัวแทนจากยุโรปเข้าร่วมกระบวนการด้วย แต่มีเงื่อนไขว่าทั้งหมดจะต้องยอมรับข้อตกลงระหว่างสหรัฐและรัสเซียเท่านั้น0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
- พวกผู้นำยุโรปที่ร่วมประชุมฉุกเฉินในกรุงปารีส มองต่างมุมเกี่ยวกับการหาวิธีรับมือการกลับลำนโยบายต่อยูเครนของทรัมป์ ฝรั่งเศสและอังกฤษพยายามผลักดันการรับประกันความมั่นคงของเคียฟ โดยที่ผู้นำลอนดอนยอมรับต้องรออเมริกาออกหน้าก่อน แต่เยอรมนีค้านข้อเสนอส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครน
.
ประธานาธิบดีเอมมานูเอล มาครง ของฝรั่งเศส เป็นเจ้าภาพจัดประชุมฉุกเฉินที่ปารีสในวันจันทร์ ขณะที่ยุโรปกังวลว่า ตนเองจะถูกตัดออกจากการเจรจาสันติภาพในยูเครน ซึ่งแม้แต่เคียฟก็ยังถูกเทเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ส่งคณะผู้แทนระดับสูงไปประชุมกับคณะเจ้าหน้าที่รัสเซียที่ซาอุดีอาระเบีย ซึ่งมีกำหนดเริ่มต้นในวันอังคาร (18 ก.พ.) โดยที่ทั้งเคียฟและยุโรปไม่ได้รับเชิญ
.
บรรดาผู้นำยุโรปถกเถียงกันในปารีสเกี่ยวกับการเพิ่มงบประมาณกลาโหมเพื่อลดการพึ่งพิงอเมริกา การรับประกันความมั่นคงของยูเครน ตลอดจนการจัดส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครนหากมีทำข้อตกลงหยุดยิงกับรัสเซีย
.
มาครงเผยเมื่อเช้าวันอังคาร (18 ก.พ.) ว่า ได้หารือทางโทรศัพท์กับทรัมป์ และประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี และได้เรียกร้องการรับประกันความมั่นคงที่เข้มแข็งและเชื่อถือได้สำหรับยูเครน เพื่อให้ข้อตกลงสันติภาพไม่จบแบบเดียวกับข้อตกลงมินสก์ในปี 2014 และ 2015 ที่ไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งในดินแดนด้านตะวันออกของยูเครนได้
.
ผู้นำฝรั่งเศสบอกว่า การกลับสู่ทำเนียบขาวของทรัมป์เทียบได้กับการช็อตด้วยไฟฟ้า แต่เตือนว่าข้อตกลงสันติภาพไม่ควรจบลงที่การยอมจำนน
.
ด้านเซเลนสกีประกาศว่า ยูเครนจะไม่ยอมรับข้อตกลงสันติภาพใดๆ ที่มีการหารือลับหลังโดยที่เคียฟไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง
.
สำหรับนายกรัฐมนตรีดิค ชูฟ ของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเข้าร่วมประชุมที่ปารีสด้วย โพสต์บนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ว่า ทุกประเทศรับรู้ถึงความจำเป็นเร่งด่วน และในช่วงเวลาที่สำคัญต่อความมั่นคงของยุโรปขณะนี้ ยุโรปต้องสนับสนุนยูเครนต่อไปด้วยการเป็นแกนนำในการรับประกันข้อตกลงใดๆ ก่อนสำทับว่า การร่วมมือกับอเมริกามีความสำคัญเช่นเดียวกัน
.
กระนั้น ยังไม่ชัดเจนว่ายุโรปจะโน้มน้าววอชิงตันอย่างไร หลังจากที่ทรัมป์ทำยูเครนและพันธมิตรยุโรปอึ้งไปตามๆ กันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ด้วยการโทรศัพท์คุยกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ที่ถูกตะวันตกโดดเดี่ยวมาหลายปี โดยไม่ปรึกษาใครในยุโรปเลย
.
นายกรัฐมนตรีเคียร์ สตาร์เมอร์ของอังกฤษที่เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาประกาศว่า พร้อมส่งทหารอังกฤษไปยูเครนถ้าจำเป็น ล่าสุดกลับแบะท่าว่า อเมริกาต้องรับประกันความปลอดภัยก่อน ยุโรปจึงจะสามารถส่งกองกำลังไปยูเครนได้
.
ทว่า ภายหลังการหารือ นายกรัฐมนตรีโอลาฟ ชอลซ์ของเยอรมนี ตั้งข้อสังเกตว่า ขณะนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะถกเถียงกันเกี่ยวกับการส่งกองกำลังสันติภาพไปยูเครน เนื่องจากยังคงมีการสู้รบกันอยู่
.
สำหรับนายกรัฐมนตรีโดนัลด์ ทุสค์ของโปแลนด์ กล่าวว่า ทุกคนในที่ประชุมรับรู้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปและอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่เฟสใหม่ ขณะที่ตัวเขาเองพูดไว้ตั้งแต่ก่อนเข้าประชุมว่า โปแลนด์จะไม่ส่งทหารเข้าไปในดินแดนยูเครน โดย "โปแลนด์จะสนับสนุนยูเครนแบบเดียวกับที่ทำมาจนถึงตอนนี้ โปแลนด์ให้การสนับสนุนยูเครนอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับศักยภาพทางการเงินของเรา ทั้งในแง่ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและด้านการทหาร" เขากล่าว
.
อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานของคณะกรรมาธิการยุโรป ที่เป็นองค์กรบริหารของอียู ระบุว่า ยูเครนสมควรมีสันติภาพด้วยสถานะที่เข้มแข็ง รวมทั้งได้รับการรับประกันความมั่นคง นอกจากนั้น ความเป็นเอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแห่งดินแดนของยูเครนควรได้รับการเคารพ
.
มาร์ค รึตเตอ เลขาธิการองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ประกาศว่า ยุโรปมีความมุ่งมั่นชัดเจนในการสนับสนุนยูเครน
.
นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เมตเทอ เฟรเดริกเซิน กล่าวว่า เดนมาร์กเปิดกว้างในประเด็นการส่งทหารไปยูเครน แต่เตือนว่า คำถามสำคัญคืออเมริกาจะสนับสนุนเรื่องนี้หรือไม่ พร้อมสำทับว่า รัสเซียกำลังคุกคามยุโรปทั้งหมด และเตือนวอชิงตันว่า การเร่งรัดข้อตกลงหยุดยิงจะเปิดโอกาสให้มอสโกระดมพลอีกครั้งเพื่อกลับไปโจมตียูเครนหรือประเทศอื่นในยุโรป
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016364
..............
Sondhi Xพวกผู้นำยุโรปที่ร่วมประชุมฉุกเฉินในกรุงปารีส มองต่างมุมเกี่ยวกับการหาวิธีรับมือการกลับลำนโยบายต่อยูเครนของทรัมป์ ฝรั่งเศสและอังกฤษพยายามผลักดันการรับประกันความมั่นคงของเคียฟ โดยที่ผู้นำลอนดอนยอมรับต้องรออเมริกาออกหน้าก่อน แต่เยอรมนีค้านข้อเสนอส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครน . ประธานาธิบดีเอมมานูเอล มาครง ของฝรั่งเศส เป็นเจ้าภาพจัดประชุมฉุกเฉินที่ปารีสในวันจันทร์ ขณะที่ยุโรปกังวลว่า ตนเองจะถูกตัดออกจากการเจรจาสันติภาพในยูเครน ซึ่งแม้แต่เคียฟก็ยังถูกเทเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ส่งคณะผู้แทนระดับสูงไปประชุมกับคณะเจ้าหน้าที่รัสเซียที่ซาอุดีอาระเบีย ซึ่งมีกำหนดเริ่มต้นในวันอังคาร (18 ก.พ.) โดยที่ทั้งเคียฟและยุโรปไม่ได้รับเชิญ . บรรดาผู้นำยุโรปถกเถียงกันในปารีสเกี่ยวกับการเพิ่มงบประมาณกลาโหมเพื่อลดการพึ่งพิงอเมริกา การรับประกันความมั่นคงของยูเครน ตลอดจนการจัดส่งทหารไปรักษาสันติภาพในยูเครนหากมีทำข้อตกลงหยุดยิงกับรัสเซีย . มาครงเผยเมื่อเช้าวันอังคาร (18 ก.พ.) ว่า ได้หารือทางโทรศัพท์กับทรัมป์ และประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี และได้เรียกร้องการรับประกันความมั่นคงที่เข้มแข็งและเชื่อถือได้สำหรับยูเครน เพื่อให้ข้อตกลงสันติภาพไม่จบแบบเดียวกับข้อตกลงมินสก์ในปี 2014 และ 2015 ที่ไม่สามารถแก้ไขความขัดแย้งในดินแดนด้านตะวันออกของยูเครนได้ . ผู้นำฝรั่งเศสบอกว่า การกลับสู่ทำเนียบขาวของทรัมป์เทียบได้กับการช็อตด้วยไฟฟ้า แต่เตือนว่าข้อตกลงสันติภาพไม่ควรจบลงที่การยอมจำนน . ด้านเซเลนสกีประกาศว่า ยูเครนจะไม่ยอมรับข้อตกลงสันติภาพใดๆ ที่มีการหารือลับหลังโดยที่เคียฟไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง . สำหรับนายกรัฐมนตรีดิค ชูฟ ของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเข้าร่วมประชุมที่ปารีสด้วย โพสต์บนแพลตฟอร์มเอ็กซ์ว่า ทุกประเทศรับรู้ถึงความจำเป็นเร่งด่วน และในช่วงเวลาที่สำคัญต่อความมั่นคงของยุโรปขณะนี้ ยุโรปต้องสนับสนุนยูเครนต่อไปด้วยการเป็นแกนนำในการรับประกันข้อตกลงใดๆ ก่อนสำทับว่า การร่วมมือกับอเมริกามีความสำคัญเช่นเดียวกัน . กระนั้น ยังไม่ชัดเจนว่ายุโรปจะโน้มน้าววอชิงตันอย่างไร หลังจากที่ทรัมป์ทำยูเครนและพันธมิตรยุโรปอึ้งไปตามๆ กันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ด้วยการโทรศัพท์คุยกับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ที่ถูกตะวันตกโดดเดี่ยวมาหลายปี โดยไม่ปรึกษาใครในยุโรปเลย . นายกรัฐมนตรีเคียร์ สตาร์เมอร์ของอังกฤษที่เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาประกาศว่า พร้อมส่งทหารอังกฤษไปยูเครนถ้าจำเป็น ล่าสุดกลับแบะท่าว่า อเมริกาต้องรับประกันความปลอดภัยก่อน ยุโรปจึงจะสามารถส่งกองกำลังไปยูเครนได้ . ทว่า ภายหลังการหารือ นายกรัฐมนตรีโอลาฟ ชอลซ์ของเยอรมนี ตั้งข้อสังเกตว่า ขณะนี้ยังไม่ถึงเวลาที่จะถกเถียงกันเกี่ยวกับการส่งกองกำลังสันติภาพไปยูเครน เนื่องจากยังคงมีการสู้รบกันอยู่ . สำหรับนายกรัฐมนตรีโดนัลด์ ทุสค์ของโปแลนด์ กล่าวว่า ทุกคนในที่ประชุมรับรู้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปและอเมริกาได้ก้าวเข้าสู่เฟสใหม่ ขณะที่ตัวเขาเองพูดไว้ตั้งแต่ก่อนเข้าประชุมว่า โปแลนด์จะไม่ส่งทหารเข้าไปในดินแดนยูเครน โดย "โปแลนด์จะสนับสนุนยูเครนแบบเดียวกับที่ทำมาจนถึงตอนนี้ โปแลนด์ให้การสนับสนุนยูเครนอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับศักยภาพทางการเงินของเรา ทั้งในแง่ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและด้านการทหาร" เขากล่าว . อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานของคณะกรรมาธิการยุโรป ที่เป็นองค์กรบริหารของอียู ระบุว่า ยูเครนสมควรมีสันติภาพด้วยสถานะที่เข้มแข็ง รวมทั้งได้รับการรับประกันความมั่นคง นอกจากนั้น ความเป็นเอกราช อธิปไตย และบูรณาภาพแห่งดินแดนของยูเครนควรได้รับการเคารพ . มาร์ค รึตเตอ เลขาธิการองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ประกาศว่า ยุโรปมีความมุ่งมั่นชัดเจนในการสนับสนุนยูเครน . นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เมตเทอ เฟรเดริกเซิน กล่าวว่า เดนมาร์กเปิดกว้างในประเด็นการส่งทหารไปยูเครน แต่เตือนว่า คำถามสำคัญคืออเมริกาจะสนับสนุนเรื่องนี้หรือไม่ พร้อมสำทับว่า รัสเซียกำลังคุกคามยุโรปทั้งหมด และเตือนวอชิงตันว่า การเร่งรัดข้อตกลงหยุดยิงจะเปิดโอกาสให้มอสโกระดมพลอีกครั้งเพื่อกลับไปโจมตียูเครนหรือประเทศอื่นในยุโรป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016364 .............. Sondhi X - 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
- เจ้าหน้าที่ระดับสูงนาโตเชื่อว่า สหรัฐฯ จะยังไม่ลาออกจากนาโตแต่น่าจะถอนกำลังทหารออกไปบางส่วนหลังยุโรปไม่ใช่เป้าหมายหลักอีกต่อไปสำหรับวอชิงตัน
.
บลูมเบิร์กของสหรัฐฯ รายงานวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า วอชิงตันน่าที่จะยังคงอยู่ร่วมกับนาโตต่อไป แต่ทว่าอาจจะลดกองกำลังประจำการลงในยุโรปจากการที่สหรัฐฯ หันเห็นความจำเป็นไปอยู่ที่ภูมิภาคอินโดแปซิฟิก
.
พลเรือเอกจูเซปเป คาโว ดราโกเน ประธานคณะกรรมการกองทัพประจำ NATO เดือนที่แล้วได้กล่าวในการประชุมนอกรอบในการประชุมความมั่นคงมิวนิกที่ซึ่งบรรดาผู้นำยุโรปมาเพื่อเผชิญหน้ากับรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่ของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ รวมถึงความคาดหวังการลดลงของการปกป้องทางความมั่นคงของสหรัฐฯ
.
พลเรือเอกคาโว ดราโกเน กล่าวว่า “สหรัฐฯ จะไม่ถอนตัวออกไปจากนาโต” ในการให้สัมภาษณ์ในเมืองมิวนิก แต่การถอนกำลังทหารอเมริกันบางส่วนออกไปจากทั้งหมด 100,000 นายที่ประจำอยู่ในยุโรปอาจมีวาระเกิดขึ้น เป็นเพราะมีความผูกพันบางประการที่สหรัฐฯ ต้องออกห่างไปจากที่นี่ ไปอยู่ที่มหาสมุทรแปซิฟิก”
.
แต่พลเรือเอกจากอิตาลีที่ได้นั่งในตำแหน่งสำคัญนี้เปิดเผยว่า “อย่างไรก็ตามผมไม่คิดว่าจะเป็นตัวเลขมหาศาลที่จะนำอเมริกันออกไปจากยุโรป”
.
ความมั่นคงยุโรปมีความสำคัญอย่างสูงในการประชุมความมั่นคงมิวนิก เหนือจากทั้งหมดคือการแก้ปัญหาสงครามยูเครนที่ยาวนานยืดเยื้อร่วม 3 ปี
.
แต่ทว่าผู้นำชาติยุโรปและยูเครนต่างไม่ทันตั้งตัวถึงแผนทรัมป์ที่จะหารือกับประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิมีร์ ปูติน ที่ต่างวิตกกันว่ายุโรปจะไม่ได้มีส่วนร่วม
.
คาโว ดราโกเน เห็นพ้องกับสมาชิกนาโตหลายคนในยุโรปเรียกร้องให้เพิ่มงบประมาณการป้องกันประเทศ โดยรับรู้ว่าการหันเหความสนใจของสหรัฐฯ หมายถึงยุโรปจำเป็นต้องเพิ่มความแข็งแกร่งขึ้นมา
.
“มันมีความไม่สมดุลเกิดขึ้น ดังนั้นพวกเราจำเป็นต้องทำให้มีความสมดุลกลับคืนมา” พร้อมกับเรียกแนวคิดที่ว่ายุโรปไม่สามารถปกป้องตัวเองว่า “เป็นการดูหมิ่น”
.
อย่างไรก็ตาม การลดลงใดๆ ของอเมริกาในยุโรปนั้นเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับโดยนาโตด้วยทัศนคติเชิงปฏิบัติ” เขากล่าวพร้อมยืนกรานว่า กองทัพในภูมิภาคจำเป็นต้องเข้ามาแทนที่เพื่ออุดช่องโหว่
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016363
..............
Sondhi Xเจ้าหน้าที่ระดับสูงนาโตเชื่อว่า สหรัฐฯ จะยังไม่ลาออกจากนาโตแต่น่าจะถอนกำลังทหารออกไปบางส่วนหลังยุโรปไม่ใช่เป้าหมายหลักอีกต่อไปสำหรับวอชิงตัน . บลูมเบิร์กของสหรัฐฯ รายงานวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า วอชิงตันน่าที่จะยังคงอยู่ร่วมกับนาโตต่อไป แต่ทว่าอาจจะลดกองกำลังประจำการลงในยุโรปจากการที่สหรัฐฯ หันเห็นความจำเป็นไปอยู่ที่ภูมิภาคอินโดแปซิฟิก . พลเรือเอกจูเซปเป คาโว ดราโกเน ประธานคณะกรรมการกองทัพประจำ NATO เดือนที่แล้วได้กล่าวในการประชุมนอกรอบในการประชุมความมั่นคงมิวนิกที่ซึ่งบรรดาผู้นำยุโรปมาเพื่อเผชิญหน้ากับรัฐบาลสหรัฐฯ ชุดใหม่ของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ รวมถึงความคาดหวังการลดลงของการปกป้องทางความมั่นคงของสหรัฐฯ . พลเรือเอกคาโว ดราโกเน กล่าวว่า “สหรัฐฯ จะไม่ถอนตัวออกไปจากนาโต” ในการให้สัมภาษณ์ในเมืองมิวนิก แต่การถอนกำลังทหารอเมริกันบางส่วนออกไปจากทั้งหมด 100,000 นายที่ประจำอยู่ในยุโรปอาจมีวาระเกิดขึ้น เป็นเพราะมีความผูกพันบางประการที่สหรัฐฯ ต้องออกห่างไปจากที่นี่ ไปอยู่ที่มหาสมุทรแปซิฟิก” . แต่พลเรือเอกจากอิตาลีที่ได้นั่งในตำแหน่งสำคัญนี้เปิดเผยว่า “อย่างไรก็ตามผมไม่คิดว่าจะเป็นตัวเลขมหาศาลที่จะนำอเมริกันออกไปจากยุโรป” . ความมั่นคงยุโรปมีความสำคัญอย่างสูงในการประชุมความมั่นคงมิวนิก เหนือจากทั้งหมดคือการแก้ปัญหาสงครามยูเครนที่ยาวนานยืดเยื้อร่วม 3 ปี . แต่ทว่าผู้นำชาติยุโรปและยูเครนต่างไม่ทันตั้งตัวถึงแผนทรัมป์ที่จะหารือกับประธานาธิบดีรัสเซีย วลาดิมีร์ ปูติน ที่ต่างวิตกกันว่ายุโรปจะไม่ได้มีส่วนร่วม . คาโว ดราโกเน เห็นพ้องกับสมาชิกนาโตหลายคนในยุโรปเรียกร้องให้เพิ่มงบประมาณการป้องกันประเทศ โดยรับรู้ว่าการหันเหความสนใจของสหรัฐฯ หมายถึงยุโรปจำเป็นต้องเพิ่มความแข็งแกร่งขึ้นมา . “มันมีความไม่สมดุลเกิดขึ้น ดังนั้นพวกเราจำเป็นต้องทำให้มีความสมดุลกลับคืนมา” พร้อมกับเรียกแนวคิดที่ว่ายุโรปไม่สามารถปกป้องตัวเองว่า “เป็นการดูหมิ่น” . อย่างไรก็ตาม การลดลงใดๆ ของอเมริกาในยุโรปนั้นเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับโดยนาโตด้วยทัศนคติเชิงปฏิบัติ” เขากล่าวพร้อมยืนกรานว่า กองทัพในภูมิภาคจำเป็นต้องเข้ามาแทนที่เพื่ออุดช่องโหว่ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016363 .............. Sondhi X - ใหม่ !!!
น้ำส้มสายชูหมักธรรมชาติ จากมะขามป้อม
Indian Gooseberry Cider Vinegar
ORGANIC & WITH THE MOTHER
ไม่กรอง ไม่พาสเจอร์ไรส์ อุดมไปด้วย Probiotics
และจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ต่อร่างกาย
สรรพคุณ :
- ต้านการอักเสบ ยังยั้งการสร้างเมลานินได้
- มีสารต้านอนุมูลอิสระ และ วิตามินซี
- แก้ไอ ละลายเสมหะ -แก้กระหายน้ำ
- ช่วยขับปัสสาวะ เป็นยาระบายอ่อนๆ
- ช่วยลด และรักษาเลือดออกตามไรฟัน
- แก้คลื่นไส้ อาเจียน
- ช่วยชะลอความแก่ บำรุงผิวพรรณ
วิธีการใช้ Indian Gooseberry Cider Vinegar: GBCV Keto Friendly
==============================
1 🥤 ผสมกับเครื่องดื่มเย็นๆ อาจจะเป็นน้ำเย็นธรรมดา หรือ น้ำผลไม้ , น้ำสมุนไพร หรือ น้ำโซดา โดยผสมวีนีก้าร์เพียง 2-3 ช้อนชา เท่านั้น
2 🥘 ใช้เป็นส่วนผสมในปรุง หรือการหมักอาหาร
3 🥗 ใช้เป็นส่วนผสมในการปรุง น้ำสลัด , น้ำซอส หรือ น้ำจิ้ม
4 🥨 ใช้เป็นส่วนผสมในการอบขนม เช่น คุกกี้ หรือ เบเกอรี่ต่างๆ
5 👧 ใช้เป็นโทนเนอร์ทำความสะอาดผิวหน้า โดยมีอัตราส่วน 1:1 น้ำวีนีก้าร์ กับ น้ำสะอาด
สั่งซื้อได้แล้วตอนนี้ ที่ Shopee : https://s.shopee.co.th/6V8qkraHosใหม่ !!! น้ำส้มสายชูหมักธรรมชาติ จากมะขามป้อม Indian Gooseberry Cider Vinegar ORGANIC & WITH THE MOTHER ไม่กรอง ไม่พาสเจอร์ไรส์ อุดมไปด้วย Probiotics และจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ต่อร่างกาย สรรพคุณ : - ต้านการอักเสบ ยังยั้งการสร้างเมลานินได้ - มีสารต้านอนุมูลอิสระ และ วิตามินซี - แก้ไอ ละลายเสมหะ -แก้กระหายน้ำ - ช่วยขับปัสสาวะ เป็นยาระบายอ่อนๆ - ช่วยลด และรักษาเลือดออกตามไรฟัน - แก้คลื่นไส้ อาเจียน - ช่วยชะลอความแก่ บำรุงผิวพรรณ วิธีการใช้ Indian Gooseberry Cider Vinegar: GBCV Keto Friendly ============================== 1 🥤 ผสมกับเครื่องดื่มเย็นๆ อาจจะเป็นน้ำเย็นธรรมดา หรือ น้ำผลไม้ , น้ำสมุนไพร หรือ น้ำโซดา โดยผสมวีนีก้าร์เพียง 2-3 ช้อนชา เท่านั้น 2 🥘 ใช้เป็นส่วนผสมในปรุง หรือการหมักอาหาร 3 🥗 ใช้เป็นส่วนผสมในการปรุง น้ำสลัด , น้ำซอส หรือ น้ำจิ้ม 4 🥨 ใช้เป็นส่วนผสมในการอบขนม เช่น คุกกี้ หรือ เบเกอรี่ต่างๆ 5 👧 ใช้เป็นโทนเนอร์ทำความสะอาดผิวหน้า โดยมีอัตราส่วน 1:1 น้ำวีนีก้าร์ กับ น้ำสะอาด สั่งซื้อได้แล้วตอนนี้ ที่ Shopee : https://s.shopee.co.th/6V8qkraHos0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว - Kombucha ที่หมัก F2 (การหมักครั้งที่สอง)
ด้วยชาพาสชั่นฟรุต และพีช มีประโยชน์หลายประการ ดังนี้:
1. **เพิ่มรสชาติ**: การเติมชาพาสชั่นฟรุตและพีชในขั้นตอน F2 ช่วยเพิ่มรสชาติที่หลากหลายและน่าดึงดูด ทำให้ Kombucha มีรสหวานอมเปรี้ยวพร้อมกลิ่นผลไม้สดชื่น
2. **เพิ่มสารอาหาร**: ชาพาสชั่นฟรุตและพีชอุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งช่วยเสริมคุณค่าทางโภชนาการของ Kombucha
3. **ช่วยระบบย่อยอาหาร**: Kombucha มีโปรไบโอติกที่ช่วยปรับสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ ช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดีขึ้น
4. **เสริมภูมิคุ้มกัน**: สารต้านอนุมูลอิสระและวิตามินจากชาพาสชั่นฟรุตและพีชช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
5. **ดีท็อกซ์ร่างกาย**: Kombucha ช่วยในการขับสารพิษออกจากร่างกาย และการเติมชาพาสชั่นฟรุตและพีชยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการนี้
6. **ลดความเครียด**: ชาพาสชั่นฟรุตมีคุณสมบัติช่วยคลายความเครียดและทำให้รู้สึกผ่อนคลาย
7. **เพิ่มพลังงาน**: Kombucha มีวิตามินบีและคาเฟอีนจากชาที่ช่วยเพิ่มพลังงานและความตื่นตัว
8. **ดีต่อผิวพรรณ**: สารต้านอนุมูลอิสระและวิตามินซีจากพีชและชาพาสชั่นฟรุตช่วยบำรุงผิวให้สุขภาพดี
สรุปแล้ว Kombucha ที่หมัก F2 ด้วยชาพาสชั่นฟรุตและพีชไม่เพียงแต่มีรสชาติที่ดี แต่ยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายด้าน ทั้งระบบย่อยอาหาร ภูมิคุ้มกัน และผิวพรรณ
https://s.shopee.co.th/1g3sU0Y2KZKombucha ที่หมัก F2 (การหมักครั้งที่สอง) ด้วยชาพาสชั่นฟรุต และพีช มีประโยชน์หลายประการ ดังนี้: 1. **เพิ่มรสชาติ**: การเติมชาพาสชั่นฟรุตและพีชในขั้นตอน F2 ช่วยเพิ่มรสชาติที่หลากหลายและน่าดึงดูด ทำให้ Kombucha มีรสหวานอมเปรี้ยวพร้อมกลิ่นผลไม้สดชื่น 2. **เพิ่มสารอาหาร**: ชาพาสชั่นฟรุตและพีชอุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งช่วยเสริมคุณค่าทางโภชนาการของ Kombucha 3. **ช่วยระบบย่อยอาหาร**: Kombucha มีโปรไบโอติกที่ช่วยปรับสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ ช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดีขึ้น 4. **เสริมภูมิคุ้มกัน**: สารต้านอนุมูลอิสระและวิตามินจากชาพาสชั่นฟรุตและพีชช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย 5. **ดีท็อกซ์ร่างกาย**: Kombucha ช่วยในการขับสารพิษออกจากร่างกาย และการเติมชาพาสชั่นฟรุตและพีชยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการนี้ 6. **ลดความเครียด**: ชาพาสชั่นฟรุตมีคุณสมบัติช่วยคลายความเครียดและทำให้รู้สึกผ่อนคลาย 7. **เพิ่มพลังงาน**: Kombucha มีวิตามินบีและคาเฟอีนจากชาที่ช่วยเพิ่มพลังงานและความตื่นตัว 8. **ดีต่อผิวพรรณ**: สารต้านอนุมูลอิสระและวิตามินซีจากพีชและชาพาสชั่นฟรุตช่วยบำรุงผิวให้สุขภาพดี สรุปแล้ว Kombucha ที่หมัก F2 ด้วยชาพาสชั่นฟรุตและพีชไม่เพียงแต่มีรสชาติที่ดี แต่ยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายด้าน ทั้งระบบย่อยอาหาร ภูมิคุ้มกัน และผิวพรรณ https://s.shopee.co.th/1g3sU0Y2KZ - สำหรับผู้มีปัญหาอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ลำไส้แปรปรวน
คำแนะนำในการเลือกกินอาหารจาก รพ.ราชวิถี เป็นแนวทางในการดูแลรักษาโรคได้นะคะ FODMAPs คือกลุ่มอาหารที่มีองค์ประกอบเป็นคาร์โบไฮเดรต ทั้งน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว/คู่ การเลือกกินกลุ่มอาหารตาม FODMAP ต่ำ จะช่วยบรรเทาและควบคุมอาการได้ค่ะ ...สำหรับผู้มีปัญหาอาหารไม่ย่อย ท้องอืด ลำไส้แปรปรวน คำแนะนำในการเลือกกินอาหารจาก รพ.ราชวิถี เป็นแนวทางในการดูแลรักษาโรคได้นะคะ FODMAPs คือกลุ่มอาหารที่มีองค์ประกอบเป็นคาร์โบไฮเดรต ทั้งน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว/คู่ การเลือกกินกลุ่มอาหารตาม FODMAP ต่ำ จะช่วยบรรเทาและควบคุมอาการได้ค่ะ ... - สหรัฐฯ กับรัสเซียเห็นพ้องกันที่จะเริ่มต้นทำงานเพื่อยุติสงครามในยูเครน และปรับปรุงสายสัมพันธ์ทางการทูตและทางเศรษฐกิจระหว่างกัน รัฐมนตรีต่างประเทศ มาร์โค รูบิโอ ของสหรัฐฯ ระบุภายหลังการเจรจากันของคณะผู้แทนสหรัฐฯ ที่นำโดยตัวเขา กับคณะของรัสเซียซึ่งมีรัฐมนตรีต่างประเทศ เซียร์เก ลาฟรอฟ เป็นผู้นำ ที่กรุงริยาด ซาอุดีอาระเบีย โดยที่ไม่มีตัวแทนจากยูเครนหรือทางยุโรปเข้าร่วมด้วย
.
ในการให้สัมภาษณ์สำนักข่าวเอพีภายหลังการเจรจากับฝ่ายรัสเซีย รูบิโอกล่าวว่าทั้งสองฝ่ายมีการตกลงกันอย่างกว้างๆ ที่จะมุ่งหน้าไปสู่เป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ การหวนคืนในเรื่องการให้เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายได้กลับเข้าประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูตของกันและกันในกรุงวอชิงตันและกรุงมอสโก การก่อตั้งทีมงานระดับสูงเพื่อสนับสนุนการเจรจาสันติภาพยูเครน และการสำรวจลู่ทางเพื่อให้มีความสัมพันธ์และความร่วมมือกันในทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น
.
อย่างไรก็ดี เขาย้ำว่า การพูดจาคราวนี้ถือเป็นหลักหมายของการเริ่มต้นสนทนากัน และยังจำเป็นจะต้องทำงานกันต่อไปอีกมาก
.
ทั้งนี้ สายสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซียได้ตกลงมาสู่ระดับต่ำที่สุดในรอบหลายสิบปีระหว่างที่เกิดสงครามในยูเครน โดยที่สถานเอกอัครราชทูตของแต่ละฝ่ายซึ่งตั้งอยู่ในเมืองหลวงของอีกฝ่ายหนึ่ง ต่างได้รับความกระทบกระเทือนหนักจากการที่ต่างฝ่ายต่างสั่งขับไล่นักการทูตของกันและกันเป็นจำนวนมากหลายๆ ระลอกในช่วงหลายๆ ปีที่ผ่านมา และจากการที่สหรัฐฯ จับมือกับยุโรปในการประกาศใช้มาตรการแซงก์ชันด้านต่างๆ กับรัสเซีย
.
รูบิโอ ยังกล่าวแสดงความหวังให้การสู้รบขัดแย้งในยูเครนเดินเข้าสู่จุดจบที่สามารถยอมรับกันได้ และสหรัฐฯ กับรัสเซียจะมีโอกาสอันน่าเชื่อถือที่จะจับมือกันในทางภูมิรัฐศาสตร์ในประเด็นต่างๆ ที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ตลอดจนในทางเศรษฐกิจด้วยประเด็นซึ่งจะเป็นผลดีต่อโลกและก็จะปรับปรุงความสัมพันธ์ของสองประเทศในระยะยาว
.
การหารือในวันอังคารคราวนี้ ยังมุ่งหมายที่จะแผ้วถางทางให้แก่การประชุมซัมมิตระหว่างประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ กับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ของรัสเซีย ทว่าภายหลังการเจรจาสิ้นสุดลง ยูริ อูชาคอฟ ที่ปรึกษาฝ่ายกิจการต่างประเทศของปูติน ซึ่งอยู่ในคณะของฝ่ายรัสเซีย บอกกับสถานีโทรทัศน์แชนเนลวัน ของรัสเซียว่า ยังไม่มีการกำหนดวันแน่นอนสำหรับซัมมิตดังที่ว่านี้ และ “ไม่น่าเป็นไปได้” ที่จะเกิดขึ้นมาในสัปดาห์หน้า
.
ในส่วนของ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย เขากล่าวกับพวกผู้สื่อข่าวหลังการหารือว่า “การสนทนากันคราวนี้เป็นประโยชน์มาก” โดยที่เขาอ้างอิงถึงเป้าหมาย 3 ประการเช่นเดียวกับที่รูบิโอพูด และบอกว่าวอชิงตันกับมอสโกตกลงกันที่จะแต่งตั้งคณะตัวแทนที่จะดำเนินการ “การปรึกษาหารืออย่างเป็นประจำ” ในเรื่องยูเครนขึ้นมา
.
“เราไม่เพียงแค่รับฟัง แต่ยังได้ยินกันและกันอีกด้วย” ลาฟรอฟบอก “และผมมีเหตุผลที่จะเชื่อว่าฝ่ายอเมริกันได้เริ่มต้นที่จะเข้าอกเข้าใจจุดยืนของเราดีขึ้นแล้ว ซึ่งครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่เราได้พูดสรุปโดยมีการลงรายละเอียด ใช้ตัวอย่างเฉพาะเจาะจงต่างๆ โดยยึดโยงอยู่กับคำปราศรัยครั้งแล้วครั้งเล่าของประธานาธิบดีปูติน”
.
ก่อนหน้าการเจรจาคราวนี้ ทั้งสองฝ่ายดูจะมีความพยายามเน้นย้ำไมให้เกิดการตั้งความหวังมากจนเกินความเป็นจริง
.
ดมิตริ เปสคอฟ โฆษกทำเนียบเครมลิน แถลงเมื่อวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า การหารือคราวนี้มุ่งเน้นการฟื้นฟูความสัมพันธ์วอชิงตัน-มอสโกเป็นหลัก ตลอดจนถึงการเตรียมพร้อมสำหรับการเจรจาที่อาจเกิดขึ้นเกี่ยวกับยูเครน และการจัดเตรียมการประชุมสุดยอดระหว่างประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์
.
ส่วน แทมมี บรูซ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงว่า การประชุมที่ซาอุดีอาระเบียมีเป้าหมายในการพิจารณาว่า รัสเซียจริงจังกับข้อตกลงสันติภาพแค่ไหน และจะเริ่มต้นการเจรจาอย่างละเอียดได้หรือไม่
.
บรูซเสริมว่า แม้ยูเครนไม่ได้รับเชิญให้ร่วมการหารือในวันอังคาร แต่การเจรจาสันติภาพที่แท้จริงจะต้องมีเคียฟร่วมวงด้วย
.
การเจรจาคราวนี้จัดขึ้นที่ที่พระราชวังดิริยาห์ในกรุงริยาด โดยคณะของฝ่ายของสหรัฐฯ นอกจากรัฐมนตรีต่างประเทาศรูบิโอ แล้ว ยังมี ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติของทำเนียบขาว และสตีฟ วิตคอฟฟ์ ผู้แทนพิเศษด้านตะวันออกกลาง ขณะที่ฝ่ายรัสเซีย ได้แก่ เซียร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศ และยูริ อูชาคอฟ ผู้ช่วยอาวุโสของปูติน
.
รายงานข่าวระบุว่า การหารือเริ่มต้นขึ้นโดยไม่มีการจับมือหรือการแถลงใดๆ แต่มีเจ้าชายไฟซาล บิน ฟาร์ฮัน และมูซาอัด บิน โมฮัมหมัด อัล-ไอบาน รัฐมนตรีต่างประเทศและที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของซาอุดีอาระเบียตามลำดับร่วมอยู่ด้วย
.
การหารือครั้งนี้ถือเป็นการหารือระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสองชาติครั้งแรกนับจากที่รัสเซียบุกยูเครน และยังถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศครั้งใหญ่ของอเมริกา
.
เปสคอฟแถลงเมื่อวันอังคารระหว่างที่การหารือในริยาดดำเนินอยู่ว่า การแก้ไขวิกฤตยูเครนอย่างยั่งยืนไม่มีทางเป็นไปได้หากไม่พิจารณาสถานการณ์ความมั่นคงของยุโรป และสำทับว่า ยูเครนมีสิทธิอธิปไตยในการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แต่รัสเซียคัดค้านการเข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ของเคียฟ
.
โฆษกเครมลินเสริมว่า ปูตินพร้อมคุยกับเซเลนสกีถ้าจำเป็น
.
รัสเซียยังระบุก่อนการหารือว่า ปูตินและทรัมป์ต้องการออกจาก “ความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ” และไม่เห็นความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องร่วมเจรจาใดๆ
.
คิริลล์ ดมิทริฟ ผู้เจรจาด้านเศรษฐกิจและประธานกองทุนการลงทุนโดยตรงของรัสเซีย ให้สัมภาษณ์สถานีทีวีของทางการรัสเซียเมื่อวันอังคารว่า เขาคาดหวังว่า จะมีความคืบหน้าภายในเวลา 2-3 เดือน
.
ในส่วนความคืบหน้าที่อาจนำไปสู่ข้อตกลงหยุดยิงในยูเครนนั้นยังไม่มีความชัดเจน โดยทั้งอเมริกาและรัสเซียต่างออกตัวว่า การหารือในวันอังคารเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของกระบวนการที่ยาวนานเท่านั้น
.
บรูซ โฆษกกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ กล่าวว่า การหารือที่ริยาดไม่ควรถูกคาดหวังว่า จะมีรายละเอียดหรือมีความคืบหน้าเกี่ยวกับการเจรจาหยุดยิง
.
ขณะที่อูชาคอฟให้สัมภาษณ์สื่อของทางการรัสเซียว่า การพูดคุยในวันอังคารเป็นเพียงการหารือถึงวิธีเริ่มต้นการเจรจาเกี่ยวกับยูเครน
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016365
..............
Sondhi Xสหรัฐฯ กับรัสเซียเห็นพ้องกันที่จะเริ่มต้นทำงานเพื่อยุติสงครามในยูเครน และปรับปรุงสายสัมพันธ์ทางการทูตและทางเศรษฐกิจระหว่างกัน รัฐมนตรีต่างประเทศ มาร์โค รูบิโอ ของสหรัฐฯ ระบุภายหลังการเจรจากันของคณะผู้แทนสหรัฐฯ ที่นำโดยตัวเขา กับคณะของรัสเซียซึ่งมีรัฐมนตรีต่างประเทศ เซียร์เก ลาฟรอฟ เป็นผู้นำ ที่กรุงริยาด ซาอุดีอาระเบีย โดยที่ไม่มีตัวแทนจากยูเครนหรือทางยุโรปเข้าร่วมด้วย . ในการให้สัมภาษณ์สำนักข่าวเอพีภายหลังการเจรจากับฝ่ายรัสเซีย รูบิโอกล่าวว่าทั้งสองฝ่ายมีการตกลงกันอย่างกว้างๆ ที่จะมุ่งหน้าไปสู่เป้าหมาย 3 ด้าน ได้แก่ การหวนคืนในเรื่องการให้เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายได้กลับเข้าประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูตของกันและกันในกรุงวอชิงตันและกรุงมอสโก การก่อตั้งทีมงานระดับสูงเพื่อสนับสนุนการเจรจาสันติภาพยูเครน และการสำรวจลู่ทางเพื่อให้มีความสัมพันธ์และความร่วมมือกันในทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น . อย่างไรก็ดี เขาย้ำว่า การพูดจาคราวนี้ถือเป็นหลักหมายของการเริ่มต้นสนทนากัน และยังจำเป็นจะต้องทำงานกันต่อไปอีกมาก . ทั้งนี้ สายสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซียได้ตกลงมาสู่ระดับต่ำที่สุดในรอบหลายสิบปีระหว่างที่เกิดสงครามในยูเครน โดยที่สถานเอกอัครราชทูตของแต่ละฝ่ายซึ่งตั้งอยู่ในเมืองหลวงของอีกฝ่ายหนึ่ง ต่างได้รับความกระทบกระเทือนหนักจากการที่ต่างฝ่ายต่างสั่งขับไล่นักการทูตของกันและกันเป็นจำนวนมากหลายๆ ระลอกในช่วงหลายๆ ปีที่ผ่านมา และจากการที่สหรัฐฯ จับมือกับยุโรปในการประกาศใช้มาตรการแซงก์ชันด้านต่างๆ กับรัสเซีย . รูบิโอ ยังกล่าวแสดงความหวังให้การสู้รบขัดแย้งในยูเครนเดินเข้าสู่จุดจบที่สามารถยอมรับกันได้ และสหรัฐฯ กับรัสเซียจะมีโอกาสอันน่าเชื่อถือที่จะจับมือกันในทางภูมิรัฐศาสตร์ในประเด็นต่างๆ ที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ตลอดจนในทางเศรษฐกิจด้วยประเด็นซึ่งจะเป็นผลดีต่อโลกและก็จะปรับปรุงความสัมพันธ์ของสองประเทศในระยะยาว . การหารือในวันอังคารคราวนี้ ยังมุ่งหมายที่จะแผ้วถางทางให้แก่การประชุมซัมมิตระหว่างประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ กับประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ของรัสเซีย ทว่าภายหลังการเจรจาสิ้นสุดลง ยูริ อูชาคอฟ ที่ปรึกษาฝ่ายกิจการต่างประเทศของปูติน ซึ่งอยู่ในคณะของฝ่ายรัสเซีย บอกกับสถานีโทรทัศน์แชนเนลวัน ของรัสเซียว่า ยังไม่มีการกำหนดวันแน่นอนสำหรับซัมมิตดังที่ว่านี้ และ “ไม่น่าเป็นไปได้” ที่จะเกิดขึ้นมาในสัปดาห์หน้า . ในส่วนของ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย เขากล่าวกับพวกผู้สื่อข่าวหลังการหารือว่า “การสนทนากันคราวนี้เป็นประโยชน์มาก” โดยที่เขาอ้างอิงถึงเป้าหมาย 3 ประการเช่นเดียวกับที่รูบิโอพูด และบอกว่าวอชิงตันกับมอสโกตกลงกันที่จะแต่งตั้งคณะตัวแทนที่จะดำเนินการ “การปรึกษาหารืออย่างเป็นประจำ” ในเรื่องยูเครนขึ้นมา . “เราไม่เพียงแค่รับฟัง แต่ยังได้ยินกันและกันอีกด้วย” ลาฟรอฟบอก “และผมมีเหตุผลที่จะเชื่อว่าฝ่ายอเมริกันได้เริ่มต้นที่จะเข้าอกเข้าใจจุดยืนของเราดีขึ้นแล้ว ซึ่งครั้งนี้ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่เราได้พูดสรุปโดยมีการลงรายละเอียด ใช้ตัวอย่างเฉพาะเจาะจงต่างๆ โดยยึดโยงอยู่กับคำปราศรัยครั้งแล้วครั้งเล่าของประธานาธิบดีปูติน” . ก่อนหน้าการเจรจาคราวนี้ ทั้งสองฝ่ายดูจะมีความพยายามเน้นย้ำไมให้เกิดการตั้งความหวังมากจนเกินความเป็นจริง . ดมิตริ เปสคอฟ โฆษกทำเนียบเครมลิน แถลงเมื่อวันจันทร์ (17 ก.พ.) ว่า การหารือคราวนี้มุ่งเน้นการฟื้นฟูความสัมพันธ์วอชิงตัน-มอสโกเป็นหลัก ตลอดจนถึงการเตรียมพร้อมสำหรับการเจรจาที่อาจเกิดขึ้นเกี่ยวกับยูเครน และการจัดเตรียมการประชุมสุดยอดระหว่างประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน และประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ . ส่วน แทมมี บรูซ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงว่า การประชุมที่ซาอุดีอาระเบียมีเป้าหมายในการพิจารณาว่า รัสเซียจริงจังกับข้อตกลงสันติภาพแค่ไหน และจะเริ่มต้นการเจรจาอย่างละเอียดได้หรือไม่ . บรูซเสริมว่า แม้ยูเครนไม่ได้รับเชิญให้ร่วมการหารือในวันอังคาร แต่การเจรจาสันติภาพที่แท้จริงจะต้องมีเคียฟร่วมวงด้วย . การเจรจาคราวนี้จัดขึ้นที่ที่พระราชวังดิริยาห์ในกรุงริยาด โดยคณะของฝ่ายของสหรัฐฯ นอกจากรัฐมนตรีต่างประเทาศรูบิโอ แล้ว ยังมี ไมค์ วอลซ์ ที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติของทำเนียบขาว และสตีฟ วิตคอฟฟ์ ผู้แทนพิเศษด้านตะวันออกกลาง ขณะที่ฝ่ายรัสเซีย ได้แก่ เซียร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศ และยูริ อูชาคอฟ ผู้ช่วยอาวุโสของปูติน . รายงานข่าวระบุว่า การหารือเริ่มต้นขึ้นโดยไม่มีการจับมือหรือการแถลงใดๆ แต่มีเจ้าชายไฟซาล บิน ฟาร์ฮัน และมูซาอัด บิน โมฮัมหมัด อัล-ไอบาน รัฐมนตรีต่างประเทศและที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของซาอุดีอาระเบียตามลำดับร่วมอยู่ด้วย . การหารือครั้งนี้ถือเป็นการหารือระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสองชาติครั้งแรกนับจากที่รัสเซียบุกยูเครน และยังถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศครั้งใหญ่ของอเมริกา . เปสคอฟแถลงเมื่อวันอังคารระหว่างที่การหารือในริยาดดำเนินอยู่ว่า การแก้ไขวิกฤตยูเครนอย่างยั่งยืนไม่มีทางเป็นไปได้หากไม่พิจารณาสถานการณ์ความมั่นคงของยุโรป และสำทับว่า ยูเครนมีสิทธิอธิปไตยในการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แต่รัสเซียคัดค้านการเข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ของเคียฟ . โฆษกเครมลินเสริมว่า ปูตินพร้อมคุยกับเซเลนสกีถ้าจำเป็น . รัสเซียยังระบุก่อนการหารือว่า ปูตินและทรัมป์ต้องการออกจาก “ความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ” และไม่เห็นความจำเป็นที่ยุโรปจะต้องร่วมเจรจาใดๆ . คิริลล์ ดมิทริฟ ผู้เจรจาด้านเศรษฐกิจและประธานกองทุนการลงทุนโดยตรงของรัสเซีย ให้สัมภาษณ์สถานีทีวีของทางการรัสเซียเมื่อวันอังคารว่า เขาคาดหวังว่า จะมีความคืบหน้าภายในเวลา 2-3 เดือน . ในส่วนความคืบหน้าที่อาจนำไปสู่ข้อตกลงหยุดยิงในยูเครนนั้นยังไม่มีความชัดเจน โดยทั้งอเมริกาและรัสเซียต่างออกตัวว่า การหารือในวันอังคารเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของกระบวนการที่ยาวนานเท่านั้น . บรูซ โฆษกกระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ กล่าวว่า การหารือที่ริยาดไม่ควรถูกคาดหวังว่า จะมีรายละเอียดหรือมีความคืบหน้าเกี่ยวกับการเจรจาหยุดยิง . ขณะที่อูชาคอฟให้สัมภาษณ์สื่อของทางการรัสเซียว่า การพูดคุยในวันอังคารเป็นเพียงการหารือถึงวิธีเริ่มต้นการเจรจาเกี่ยวกับยูเครน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016365 .............. Sondhi X - Good morning.Good morning.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 148 มุมมอง 0 0 รีวิว
- ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ระบุมาตรการรีดภาษีของสหรัฐฯ ที่เรียกเก็บกับรถยนต์นำเข้าจะอยู่ที่ราว 25% ความเคลื่อนไหวที่เป็นการมอบข้อมูลใหม่ในด้านภาษี ที่คาดหมายว่าเขาจะมีการเปิดตัวราววันที่ 2 เมษายน
.
"มันจะอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับ 25%" ทรัมป์บอกกับพวกผู้สื่อข่าวที่รีสอร์ตมาร์อาลาโก พร้อมกับเน้นว่ามาตรการรีดภาษีอย่างเจาะจงนี้จะมีการเปิดตัวในเดือนเมษายน
.
เมื่อถูกถามว่าเขามีความคิดรีดภาษีภาคอื่นอย่างเช่นยา ด้วยหรือไม่ ทรัมป์ตอบว่า "มันจะอยู่ที่ 25% หรือสูงกว่านั้น และมันจะอยู่ในระดับสูงมากๆ ตลอดทั้งปี" อย่างไรก็ตามทรัมป์บอกว่าเขาต้องการให้เวลาบริษัทต่างๆ ในการหวนคืนสู่ตลาดสหรัฐฯ
.
ในวันอังคาร (18 ก.พ.) ทรัมป์เผยว่าเขาได้รับการติดต่อจากบรรดาบริษัทยักษ์ใหญ่หลายแห่ง ที่ต้องการกลับเข้าสู่สหรัฐฯ สืบเนื่องจากท่าทีของวอชิงตันในด้านการรีดภาษีและมาตรการจูงใจทางภาษี
.
ทรัมป์ แถลงมาตรการทางภาษีต่างๆ นับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม ขู่เล่นงานทั้งมิตรและศัตรูไม่ต่างกัน
.
เขาไม่ได้ให้รายละเอียดมากมายนักเกี่ยวกับแผนรีดภาษียานยนต์ หรือภาคอื่นๆ ที่อาจถูกเล่นงานด้วย อย่างเช่นเซมิคอนดักเตอร์และยา
.
พวกผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าบ่อยครั้งที่กลายเป็นชาวอเมริกันเองที่ต้องเป็นคนชดใช้มาตรการรีดภาษีสินค้านำเข้าสหรัฐฯ แทนที่จะเป็นผู้ส่งออกต่างชาติ
.
ทั้งนี้ ราว 50% ของรถยนต์ที่จำหน่ายในสหรัฐฯ เป็นรถยนต์ที่ผลิตภายในประเทศ นอกเหนือจากนั้นเป็นการนำเข้า โดยราวครึ่งหนึ่งของรถยนต์นำเข้ามาจากเม็กซิโกและแคนาดา ส่วนที่เหลือมาจากชาติผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่เจ้าอื่นๆ
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016368
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ระบุมาตรการรีดภาษีของสหรัฐฯ ที่เรียกเก็บกับรถยนต์นำเข้าจะอยู่ที่ราว 25% ความเคลื่อนไหวที่เป็นการมอบข้อมูลใหม่ในด้านภาษี ที่คาดหมายว่าเขาจะมีการเปิดตัวราววันที่ 2 เมษายน . "มันจะอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับ 25%" ทรัมป์บอกกับพวกผู้สื่อข่าวที่รีสอร์ตมาร์อาลาโก พร้อมกับเน้นว่ามาตรการรีดภาษีอย่างเจาะจงนี้จะมีการเปิดตัวในเดือนเมษายน . เมื่อถูกถามว่าเขามีความคิดรีดภาษีภาคอื่นอย่างเช่นยา ด้วยหรือไม่ ทรัมป์ตอบว่า "มันจะอยู่ที่ 25% หรือสูงกว่านั้น และมันจะอยู่ในระดับสูงมากๆ ตลอดทั้งปี" อย่างไรก็ตามทรัมป์บอกว่าเขาต้องการให้เวลาบริษัทต่างๆ ในการหวนคืนสู่ตลาดสหรัฐฯ . ในวันอังคาร (18 ก.พ.) ทรัมป์เผยว่าเขาได้รับการติดต่อจากบรรดาบริษัทยักษ์ใหญ่หลายแห่ง ที่ต้องการกลับเข้าสู่สหรัฐฯ สืบเนื่องจากท่าทีของวอชิงตันในด้านการรีดภาษีและมาตรการจูงใจทางภาษี . ทรัมป์ แถลงมาตรการทางภาษีต่างๆ นับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม ขู่เล่นงานทั้งมิตรและศัตรูไม่ต่างกัน . เขาไม่ได้ให้รายละเอียดมากมายนักเกี่ยวกับแผนรีดภาษียานยนต์ หรือภาคอื่นๆ ที่อาจถูกเล่นงานด้วย อย่างเช่นเซมิคอนดักเตอร์และยา . พวกผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าบ่อยครั้งที่กลายเป็นชาวอเมริกันเองที่ต้องเป็นคนชดใช้มาตรการรีดภาษีสินค้านำเข้าสหรัฐฯ แทนที่จะเป็นผู้ส่งออกต่างชาติ . ทั้งนี้ ราว 50% ของรถยนต์ที่จำหน่ายในสหรัฐฯ เป็นรถยนต์ที่ผลิตภายในประเทศ นอกเหนือจากนั้นเป็นการนำเข้า โดยราวครึ่งหนึ่งของรถยนต์นำเข้ามาจากเม็กซิโกและแคนาดา ส่วนที่เหลือมาจากชาติผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่เจ้าอื่นๆ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016368 .............. Sondhi X - 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
- https://youtu.be/gE202-2zrbM?si=9G5aRNMlP5167TDz0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
- ประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี แห่งยูเครน วิพากษ์วิจารณ์การเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซีย ที่กีดกันไม่ให้เคียฟเข้าร่วม ระบุความพยายามยุติสงครามต้อง "ยุติธรรม" และบรรดาประเทศยุโรป ในนั้นรวมถึงตุรกี ควรมีส่วนร่วมด้วย
.
ความเห็นของเขามีขึ้นหลังจากวอชิงตันและมอสโก เผยว่าพวกเขาจะเปิดเผยชื่อคณะทำงานสำหรับเจรจาเส้นทางสู่การยุติสงครามในยูเครน ระหว่างการเจรจาอย่างเป็นทางการระดับสูงครั้งแรกของทั้ง 2 ฝ่าย นับตั้งแต่รัสเซียรุกรานยูเครนเมื่อเกือบ 3 ปีก่อน
.
ความเห็นอันเดือดดาลของผู้นำยูเครน มีขึ้นหลังจากเขาได้พบปะกับประธานาธิบดี เรเจป ตัยยิบ แอร์โดอัน แห่งตุรกี เป็นเวลาเกือบ 3 ชั่วโมง ในกรุงอังการา เมืองหลวงของตุรกี
.
"ยูเครนและยุโรปในสามัญสำนักอย่างกว้างๆ และนี่รวมถึงสหภาพยุโรป ตุรกีและสหราชอาณาจักร ควรมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสนทนาและก่อรูปร่างมาตรการรับประกันความมั่นคงที่จำเป็นร่วมกับอเมริกา ในเรื่องเกี่ยวกับชะตากรรมของเรา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโลก" เซเลนสกีกล่าว
.
"ความพยายามเป็นคนกลางใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง ควรเป็นไปอย่างยุติธรรม" เขากล่าว ประณามเจรจาระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ในริยาด ก่อนหน้านี้ในวันอังคาร (18 ก.พ.) และเน้นย้ำจุดยืนคัดค้าน "การพูดคุยใดๆ ที่ปราศจากยูเครน เกี่ยวกับแนวทางยุติสงครามในยูเครน"
.
เซเลนสกีเผยว่าเขาไม่ได้รับเชิญให้ร่วมเจรจาในริยาด และตัดสินใจเลื่อนโปรแกรมเดินทางเยือนเมืองหลวงของซาดุอีอาระเบีย จากเดิมที่คาดหมายว่าจะมีขึ้นในวันพุธ (19 ก.พ.) ไปเป็นวันที่ 10 มีนาคม
.
การยกเครื่องนโยบายเกี่ยวกับรัสเซียของทรัมป์ โหมกระพือความกังวลว่าวอชิงตันกำลังเตรียมการบีบเคียฟให้ยอมเจรจาต่อรองบนเงื่อนไขของมอสโก
.
นอกเหนือจากการเจรจาในริยาดแล้ว ความกังวลนี้มีมากขึ้นไปอีก เมื่อ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ และ เซอร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย พบปะหารือกันในประเด็นความมั่นคงยุโรปและยูเครน โดยไม่มีตัวแทนใดๆ จากเคียฟหรือบรัสเซลส์เข้าร่วมด้วย
.
ในส่วนของแอร์โดอัน ที่ยืนอยู่ข้างๆ เซเลนสกี ระหว่างแถลงข่าว ได้เสนอให้ตุรกีเป็นเจ้าภาพการเจรจาใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง โดยย้อนให้นึกถึงครั้งที่ทั้ง 2 ฝ่าย พบปะกันในอิสตุนบูลในปี 2022 ไม่กี่สัปดาห์หลังรัสเซียรุกรานยูเครน
.
"ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพในอุดมคติสำหรับความเป็นไปได้ในการเจรจาใดๆ ระหว่างรัสเซีย ยูเครนและอเมริกา ในอนาคตอันใกล้นี้" เขากล่าว พร้อมบอกว่าการเจรจาในอิสตันบูล "เป็นจุดอ้างอิงที่สำคัญและเป็นแพลตฟอร์มที่ฝ่ายต่างๆ เฉียดใกล้ได้ข้อตกลงหนึ่งมากที่สุดแล้ว"
.
การเดินทางครั้งนี้ของเซเลนสกี ถือเป็นครั้งที่ 3 แล้วที่เขาเดินทางเยือนตุรกี นับตั้งแต่รัสเซียรุกราน โดยคราวนี้เกิดขึ้นในขณะที่เขาพยายามค้ำยันสถานะของเคียฟ ตามหลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เอื้อมมือเข้าหามอสโก
.
ตุรกี ซึ่งเป็นชาติสมาชิกนาโต หาทางคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีกับ 2 ชาติเพื่อนบ้านคู่สงครามทะเลดำ โดยที่แอร์โดอัน วางสถานะของตนเองในฐานะคนกลางและผู้สร้างสันติระหว่าง 2 ฝ่าย
.
แม้อังการาจะมอบโดรนแก่ยูเครน แต่ขณะเดียวกัน พวกเขาก็เพิกเฉยปลีกตัวออกต่างจากมาตรการคว่ำบาตรที่นำโดยตะวันตก ที่กำหนดเล่นงานมอสโก
.
เช่นเดียวกับซาอุดีอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตุรกีเล่นบทบาทสำคัญในการเป็นคนกลางแลกเปลี่ยนเชลยศึกหลายรายระหว่างรัสเซียกับยูเครน ข้อตกลงนี้พบเห็นนักโทษหลายร้อยคนถูกปล่อยตัวกลับมาตุภูมิ แม้ความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016367
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี แห่งยูเครน วิพากษ์วิจารณ์การเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับรัสเซีย ที่กีดกันไม่ให้เคียฟเข้าร่วม ระบุความพยายามยุติสงครามต้อง "ยุติธรรม" และบรรดาประเทศยุโรป ในนั้นรวมถึงตุรกี ควรมีส่วนร่วมด้วย . ความเห็นของเขามีขึ้นหลังจากวอชิงตันและมอสโก เผยว่าพวกเขาจะเปิดเผยชื่อคณะทำงานสำหรับเจรจาเส้นทางสู่การยุติสงครามในยูเครน ระหว่างการเจรจาอย่างเป็นทางการระดับสูงครั้งแรกของทั้ง 2 ฝ่าย นับตั้งแต่รัสเซียรุกรานยูเครนเมื่อเกือบ 3 ปีก่อน . ความเห็นอันเดือดดาลของผู้นำยูเครน มีขึ้นหลังจากเขาได้พบปะกับประธานาธิบดี เรเจป ตัยยิบ แอร์โดอัน แห่งตุรกี เป็นเวลาเกือบ 3 ชั่วโมง ในกรุงอังการา เมืองหลวงของตุรกี . "ยูเครนและยุโรปในสามัญสำนักอย่างกว้างๆ และนี่รวมถึงสหภาพยุโรป ตุรกีและสหราชอาณาจักร ควรมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสนทนาและก่อรูปร่างมาตรการรับประกันความมั่นคงที่จำเป็นร่วมกับอเมริกา ในเรื่องเกี่ยวกับชะตากรรมของเรา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโลก" เซเลนสกีกล่าว . "ความพยายามเป็นคนกลางใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง ควรเป็นไปอย่างยุติธรรม" เขากล่าว ประณามเจรจาระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ในริยาด ก่อนหน้านี้ในวันอังคาร (18 ก.พ.) และเน้นย้ำจุดยืนคัดค้าน "การพูดคุยใดๆ ที่ปราศจากยูเครน เกี่ยวกับแนวทางยุติสงครามในยูเครน" . เซเลนสกีเผยว่าเขาไม่ได้รับเชิญให้ร่วมเจรจาในริยาด และตัดสินใจเลื่อนโปรแกรมเดินทางเยือนเมืองหลวงของซาดุอีอาระเบีย จากเดิมที่คาดหมายว่าจะมีขึ้นในวันพุธ (19 ก.พ.) ไปเป็นวันที่ 10 มีนาคม . การยกเครื่องนโยบายเกี่ยวกับรัสเซียของทรัมป์ โหมกระพือความกังวลว่าวอชิงตันกำลังเตรียมการบีบเคียฟให้ยอมเจรจาต่อรองบนเงื่อนไขของมอสโก . นอกเหนือจากการเจรจาในริยาดแล้ว ความกังวลนี้มีมากขึ้นไปอีก เมื่อ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ และ เซอร์เก ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย พบปะหารือกันในประเด็นความมั่นคงยุโรปและยูเครน โดยไม่มีตัวแทนใดๆ จากเคียฟหรือบรัสเซลส์เข้าร่วมด้วย . ในส่วนของแอร์โดอัน ที่ยืนอยู่ข้างๆ เซเลนสกี ระหว่างแถลงข่าว ได้เสนอให้ตุรกีเป็นเจ้าภาพการเจรจาใดๆ ในการยุติความขัดแย้ง โดยย้อนให้นึกถึงครั้งที่ทั้ง 2 ฝ่าย พบปะกันในอิสตุนบูลในปี 2022 ไม่กี่สัปดาห์หลังรัสเซียรุกรานยูเครน . "ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพในอุดมคติสำหรับความเป็นไปได้ในการเจรจาใดๆ ระหว่างรัสเซีย ยูเครนและอเมริกา ในอนาคตอันใกล้นี้" เขากล่าว พร้อมบอกว่าการเจรจาในอิสตันบูล "เป็นจุดอ้างอิงที่สำคัญและเป็นแพลตฟอร์มที่ฝ่ายต่างๆ เฉียดใกล้ได้ข้อตกลงหนึ่งมากที่สุดแล้ว" . การเดินทางครั้งนี้ของเซเลนสกี ถือเป็นครั้งที่ 3 แล้วที่เขาเดินทางเยือนตุรกี นับตั้งแต่รัสเซียรุกราน โดยคราวนี้เกิดขึ้นในขณะที่เขาพยายามค้ำยันสถานะของเคียฟ ตามหลังประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เอื้อมมือเข้าหามอสโก . ตุรกี ซึ่งเป็นชาติสมาชิกนาโต หาทางคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีกับ 2 ชาติเพื่อนบ้านคู่สงครามทะเลดำ โดยที่แอร์โดอัน วางสถานะของตนเองในฐานะคนกลางและผู้สร้างสันติระหว่าง 2 ฝ่าย . แม้อังการาจะมอบโดรนแก่ยูเครน แต่ขณะเดียวกัน พวกเขาก็เพิกเฉยปลีกตัวออกต่างจากมาตรการคว่ำบาตรที่นำโดยตะวันตก ที่กำหนดเล่นงานมอสโก . เช่นเดียวกับซาอุดีอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตุรกีเล่นบทบาทสำคัญในการเป็นคนกลางแลกเปลี่ยนเชลยศึกหลายรายระหว่างรัสเซียกับยูเครน ข้อตกลงนี้พบเห็นนักโทษหลายร้อยคนถูกปล่อยตัวกลับมาตุภูมิ แม้ความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016367 .............. Sondhi X - 6 ร้านใหม่..เชียงใหม่
1. คั่วไก่นิมมาน 2. Mooh Doughnuts 3. ก๋วยเตี๋ยว3บาท
4. ร้านสุขพอดี 5. SIAMAYA 6. โกโก้เจ้มจ้น6 ร้านใหม่..เชียงใหม่ 1. คั่วไก่นิมมาน 2. Mooh Doughnuts 3. ก๋วยเตี๋ยว3บาท 4. ร้านสุขพอดี 5. SIAMAYA 6. โกโก้เจ้มจ้น0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 8 0 รีวิว - https://youtu.be/i01bLS7hhX8?si=cbTuYh8xjEWb4huy0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
- โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ บ่งชี้ว่ายูเครนอาจจำเป็นต้องจัดเลือกตั้งใหม่ และเน้นย้ำว่า โวโลดิมีร์ เซเลนสกี ผู้นำโดยพฤตินัยของเคียฟในปัจจุบัน ไม่เป็นที่นิยมนัก
.
ทรัมป์ แสดงความคิดเห็นไม่กี่ชั่วโมงหลังจากคณะผู้เจรจาของสหรัฐฯและรัสเซีย พบปะกันในกรุงริยาด เมืองหลวงของซาอุดีอาระเบีย เพื่อหารือถึงแนวทางต่างๆในการยุติความขัดแย้งในยูเครน มันถือเป็นการพูดคุยกัยครั้งแรกนับตั้งแต่อดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน ผู้นำอเมริกาคนก่อนหน้าทรัมป์ ระงับการติดต่อทั้งหมดกับมอสโกในปี 2022
.
ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย เน้นย้ำมาตลอดว่ามอสโกมองว่า เซเลนสกี ไม่มีความชอบธรรมทางกฎหมายมานานแล้ว สืบเนื่องจากวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีของเขา สิ้นสุดลงไปตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2024 และจนถึงตอนนี้ยังไม่มีการจัดเลือกตั้งใหม่ ก็เพราะกฎอัยการศึกที่ประกาศโดยเซเลนสกี
.
ระหว่างให้สัมภาษณ์กับพวกผู้สื่อข่าวในวันอังคาร(18ก.พ.) ทรัมป์เน้นย้ำว่าเซเลนสกี ไม่เป็นที่นิยมอย่างมากภายในประเทศของตนเอง "ผู้นำในยูเครน ผมไม่อยากพูดเลยว่า เขามีคะแนนนิยมลดต่ำอยู่แค่ระดับ 4%" ทรัมป์ระบุ
.
"ตอนที่พวกเขาบอกว่าต้องการเก้าอี้ในโต๊ะเจรจา คุณอาจพูดได้ว่า มันอาจไม่ใช่เสียงของประชาชนชาวยูเครน มันนานมาแล้วนับตั้งแต่เรามีการเลือกตั้ง" ทรัมป์เน้นย้ำ "มันไม่ใช่เรื่องของรัสเซีย มันเป็นบางอย่างที่ออกมาจากผม และออกมาจากประเทศอื่นๆหลายชาติเช่นกัน"
.
พวกเจ้าที่ยูเครนยืนยันว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะจัดการเลือกตั้งใหม่ในระหว่างที่ความขัดแย้งกับรัสเซียยังคงดำเนินอยู่
.
คะแนนิยมของเซเลนสกี พุ่งทะลุฟ้าแตะระดับ 90% ในช่วงเดือนแรกๆของความขัดแย้งในปี 2022 แต่นับตั้งแต่นั้นก็ร่วลงสู่ระดับ 50%
.
ตามหลังความพ่ายแพ้อย่างต่อเนื่องในสมรภูมิรบและปัญหารื้อรังในด้านเศรษฐกิจ เมื่อเดือนที่แล้ว สื่อมวลชนยูเครนอ้างผลสำรวจของสำนักโพล Socis poll พบว่าเหลือชาวยูเครนแค่ 40% ที่ยังคงเชื่อมั่นในเซเลนสกี ผิดกับ วาเลรี ซาลูซนีย์ อดีตนายพลแห่งกองทัพยูเครน ที่เวลานี้เป็นเอกอัครราชทูตประจำลอนดอน ที่ได้รับความเชื่อมั่นเกือบๆ 72%
.
ดมิทรี เปสคอฟ โฆษกวังเครมลินบอกในวันอังคาร(18ก.พ.) ว่า ปูติน เปิดกว้างที่จะเจรจากับ เซเลนสกี แต่ก็ต่อเมื่อประเด็นเกี่ยวกับความชอบธรรมของผู้นำยูเครนได้รับการคลี่คลายแล้วเท่านั้น
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016369
..............
Sondhi Xโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ บ่งชี้ว่ายูเครนอาจจำเป็นต้องจัดเลือกตั้งใหม่ และเน้นย้ำว่า โวโลดิมีร์ เซเลนสกี ผู้นำโดยพฤตินัยของเคียฟในปัจจุบัน ไม่เป็นที่นิยมนัก . ทรัมป์ แสดงความคิดเห็นไม่กี่ชั่วโมงหลังจากคณะผู้เจรจาของสหรัฐฯและรัสเซีย พบปะกันในกรุงริยาด เมืองหลวงของซาอุดีอาระเบีย เพื่อหารือถึงแนวทางต่างๆในการยุติความขัดแย้งในยูเครน มันถือเป็นการพูดคุยกัยครั้งแรกนับตั้งแต่อดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน ผู้นำอเมริกาคนก่อนหน้าทรัมป์ ระงับการติดต่อทั้งหมดกับมอสโกในปี 2022 . ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน แห่งรัสเซีย เน้นย้ำมาตลอดว่ามอสโกมองว่า เซเลนสกี ไม่มีความชอบธรรมทางกฎหมายมานานแล้ว สืบเนื่องจากวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปีของเขา สิ้นสุดลงไปตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2024 และจนถึงตอนนี้ยังไม่มีการจัดเลือกตั้งใหม่ ก็เพราะกฎอัยการศึกที่ประกาศโดยเซเลนสกี . ระหว่างให้สัมภาษณ์กับพวกผู้สื่อข่าวในวันอังคาร(18ก.พ.) ทรัมป์เน้นย้ำว่าเซเลนสกี ไม่เป็นที่นิยมอย่างมากภายในประเทศของตนเอง "ผู้นำในยูเครน ผมไม่อยากพูดเลยว่า เขามีคะแนนนิยมลดต่ำอยู่แค่ระดับ 4%" ทรัมป์ระบุ . "ตอนที่พวกเขาบอกว่าต้องการเก้าอี้ในโต๊ะเจรจา คุณอาจพูดได้ว่า มันอาจไม่ใช่เสียงของประชาชนชาวยูเครน มันนานมาแล้วนับตั้งแต่เรามีการเลือกตั้ง" ทรัมป์เน้นย้ำ "มันไม่ใช่เรื่องของรัสเซีย มันเป็นบางอย่างที่ออกมาจากผม และออกมาจากประเทศอื่นๆหลายชาติเช่นกัน" . พวกเจ้าที่ยูเครนยืนยันว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะจัดการเลือกตั้งใหม่ในระหว่างที่ความขัดแย้งกับรัสเซียยังคงดำเนินอยู่ . คะแนนิยมของเซเลนสกี พุ่งทะลุฟ้าแตะระดับ 90% ในช่วงเดือนแรกๆของความขัดแย้งในปี 2022 แต่นับตั้งแต่นั้นก็ร่วลงสู่ระดับ 50% . ตามหลังความพ่ายแพ้อย่างต่อเนื่องในสมรภูมิรบและปัญหารื้อรังในด้านเศรษฐกิจ เมื่อเดือนที่แล้ว สื่อมวลชนยูเครนอ้างผลสำรวจของสำนักโพล Socis poll พบว่าเหลือชาวยูเครนแค่ 40% ที่ยังคงเชื่อมั่นในเซเลนสกี ผิดกับ วาเลรี ซาลูซนีย์ อดีตนายพลแห่งกองทัพยูเครน ที่เวลานี้เป็นเอกอัครราชทูตประจำลอนดอน ที่ได้รับความเชื่อมั่นเกือบๆ 72% . ดมิทรี เปสคอฟ โฆษกวังเครมลินบอกในวันอังคาร(18ก.พ.) ว่า ปูติน เปิดกว้างที่จะเจรจากับ เซเลนสกี แต่ก็ต่อเมื่อประเด็นเกี่ยวกับความชอบธรรมของผู้นำยูเครนได้รับการคลี่คลายแล้วเท่านั้น . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016369 .............. Sondhi X - ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เปิดเผยว่าเขาสั่งการให้กระทรวงยุติธรรม เลิกจ้างบรรดาอัยการอเมริกาในยุคของไบเดน ที่ยังเหลือยู่ทั้งหมด อ้างว่ากระทรวงแห่งนี้ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
.
"เราต้องทำความสะอาดบ้านในทันที และฟื้นฟูความชื่อมั่น ยุคทองของอเมริกาจำเป็นต้องมีระบบยุติธรรมที่ยุติธรรม และมันเริ่มขึ้นแล้วในวันนี้" ทรัมป์โพสต์ข้อความบนทรัสต์โซเชียล
.
สำนักข่าวรอยเตอร์ติดต่อสอบถามไปยังกระทรวงยุติธรรม แต่กระทรวงยุติธรรมยังไม่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานข่าวดังกล่าว
.
เมื่อสัปดาห์ก่อน ทำเนียบขาวส่งหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาไปยังอัยการสหรัฐฯ หลายคนทั่วประเทศ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากอดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครต และล่าสุดในวันจันทร์ (17 ก.พ.) อัยการสหรัฐฯ หลายคนที่ได้รับการแต่งตั้งจากไบเดน แถลงว่ากำลังลาออก ส่วนคนอื่นๆ ได้ออกจากรัฐบาลตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้ว
.
แม้ตามธรรรมเนียมแล้ว บรรดาอัยการหรัฐฯ จะลาออกหลังมีการเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานประธานาธิบดี แต่โดยปกติแล้วรัฐบาลที่กำลังเข้ารับตำแหน่งจะร้องขอให้พวกเขาลาออกจากตำแหน่งอย่างละมุนละม่อมและไม่ออกหนังสือเลิกจ้างที่ใช้ถ้อยคำกะทัดรัดเช่นนี้ จากความเห็นของอดีตทนายความทั้งในอดีตและปัจจุบันของกระทรวงยุติธรรม
.
การเลิกจ้างบรรดาอัยการสหรัฐฯ ซึ่งทำหน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายรัฐบาลกลางระดับสูงสุด ตามเขตต่างๆ ของอัยการรายนั้นๆ ถือเป็นการยกเครื่องล่าสุดภายในกระทรวงยุติธรรม นับตั้งแต่ ทรัมป์ เข้ารับตำแหน่งในเดือนที่แล้ว
.
แม้กระทั่งพวกเจ้าหน้าที่ที่มีอาชีพการเงินในกระทรวงยุติธรรม ที่ปกติแล้วจะยังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปแม้จะมีการเปลี่ยนรัฐบาลก็ตาม แต่คราวนี้มีพวกเขาหลายสิบคนในเมืองต่างๆ อย่างเช่นวอชิงตันและนิวยอร์ก ที่ถูกไล่ออกหรือลาออกไป นับตั้งแต่ ทรัมป์ ก้าวเข้าสู่อำนาจ
.
ระหว่างรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ทรัมป์ประกาศกร้าวว่าจะยุติการใช้กระทรวงยุติธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมือง ในสิ่งที่เขากล่าวอ้างว่าถูกใช้เล่นงานเขา ในช่วงหลายขวบปีที่พ้นจากอำนาจไป
.
อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016385
..............
Sondhi Xประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ แห่งสหรัฐฯ เปิดเผยว่าเขาสั่งการให้กระทรวงยุติธรรม เลิกจ้างบรรดาอัยการอเมริกาในยุคของไบเดน ที่ยังเหลือยู่ทั้งหมด อ้างว่ากระทรวงแห่งนี้ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน . "เราต้องทำความสะอาดบ้านในทันที และฟื้นฟูความชื่อมั่น ยุคทองของอเมริกาจำเป็นต้องมีระบบยุติธรรมที่ยุติธรรม และมันเริ่มขึ้นแล้วในวันนี้" ทรัมป์โพสต์ข้อความบนทรัสต์โซเชียล . สำนักข่าวรอยเตอร์ติดต่อสอบถามไปยังกระทรวงยุติธรรม แต่กระทรวงยุติธรรมยังไม่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงานข่าวดังกล่าว . เมื่อสัปดาห์ก่อน ทำเนียบขาวส่งหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาไปยังอัยการสหรัฐฯ หลายคนทั่วประเทศ ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากอดีตประธานาธิบดีโจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครต และล่าสุดในวันจันทร์ (17 ก.พ.) อัยการสหรัฐฯ หลายคนที่ได้รับการแต่งตั้งจากไบเดน แถลงว่ากำลังลาออก ส่วนคนอื่นๆ ได้ออกจากรัฐบาลตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้ว . แม้ตามธรรรมเนียมแล้ว บรรดาอัยการหรัฐฯ จะลาออกหลังมีการเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานประธานาธิบดี แต่โดยปกติแล้วรัฐบาลที่กำลังเข้ารับตำแหน่งจะร้องขอให้พวกเขาลาออกจากตำแหน่งอย่างละมุนละม่อมและไม่ออกหนังสือเลิกจ้างที่ใช้ถ้อยคำกะทัดรัดเช่นนี้ จากความเห็นของอดีตทนายความทั้งในอดีตและปัจจุบันของกระทรวงยุติธรรม . การเลิกจ้างบรรดาอัยการสหรัฐฯ ซึ่งทำหน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายรัฐบาลกลางระดับสูงสุด ตามเขตต่างๆ ของอัยการรายนั้นๆ ถือเป็นการยกเครื่องล่าสุดภายในกระทรวงยุติธรรม นับตั้งแต่ ทรัมป์ เข้ารับตำแหน่งในเดือนที่แล้ว . แม้กระทั่งพวกเจ้าหน้าที่ที่มีอาชีพการเงินในกระทรวงยุติธรรม ที่ปกติแล้วจะยังคงอยู่ในตำแหน่งต่อไปแม้จะมีการเปลี่ยนรัฐบาลก็ตาม แต่คราวนี้มีพวกเขาหลายสิบคนในเมืองต่างๆ อย่างเช่นวอชิงตันและนิวยอร์ก ที่ถูกไล่ออกหรือลาออกไป นับตั้งแต่ ทรัมป์ ก้าวเข้าสู่อำนาจ . ระหว่างรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ทรัมป์ประกาศกร้าวว่าจะยุติการใช้กระทรวงยุติธรรมเป็นเครื่องมือทางการเมือง ในสิ่งที่เขากล่าวอ้างว่าถูกใช้เล่นงานเขา ในช่วงหลายขวบปีที่พ้นจากอำนาจไป . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000016385 .............. Sondhi X -
-
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
- สนธิเล่าเรื่อง 19-2-68
.
วันนี้รายการกลับมา Live อีกครั้ง หลังจากที่วันจันทร์คุณสนธิต้องตรากตรำเดินทางไปขึ้นศาลจังหวัดแม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ในคดีความหมิ่นประมาทเกี่ยวกับการทุจริตใน ปตท. วันนี้คุณสนธิจึงจะมาถ่ายทอดประสบการณ์เดินทางไปขึ้นเหนือ ไปขึ้นศาลครั้งนี้ให้ฟัง นอกจากนี้ยังมีทัศนะของคุณสนธิเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหว่าง "โจ๊ก สุรเชชษฐ์" กับ "ท่านวันนอร์" ประธานรัฐสภา ที่เป็นกรณีร้ายแรง รวมถึงถ้ามีเวลาเหลือคุณสนธิจะสรุปภาพรวมของความคืบหน้าในคดีการค้นหาความจริงกับการเสียชีวิตของน้องแตงโม ภัทรธิดาให้ฟังด้วย ... จะสนุกสนานแค่ไหนโปรดติดตาม
.
คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=Ccgt-pD7Ql0
.
#SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่องสนธิเล่าเรื่อง 19-2-68 . วันนี้รายการกลับมา Live อีกครั้ง หลังจากที่วันจันทร์คุณสนธิต้องตรากตรำเดินทางไปขึ้นศาลจังหวัดแม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ในคดีความหมิ่นประมาทเกี่ยวกับการทุจริตใน ปตท. วันนี้คุณสนธิจึงจะมาถ่ายทอดประสบการณ์เดินทางไปขึ้นเหนือ ไปขึ้นศาลครั้งนี้ให้ฟัง นอกจากนี้ยังมีทัศนะของคุณสนธิเกี่ยวกับกรณีพิพาทระหว่าง "โจ๊ก สุรเชชษฐ์" กับ "ท่านวันนอร์" ประธานรัฐสภา ที่เป็นกรณีร้ายแรง รวมถึงถ้ามีเวลาเหลือคุณสนธิจะสรุปภาพรวมของความคืบหน้าในคดีการค้นหาความจริงกับการเสียชีวิตของน้องแตงโม ภัทรธิดาให้ฟังด้วย ... จะสนุกสนานแค่ไหนโปรดติดตาม . คลิกชม >> https://www.youtube.com/watch?v=Ccgt-pD7Ql0 . #SondhiTalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิเล่าเรื่อง