• #แก็สในทางเดินอาหาร

    แก็สในระบบทางเดินอาหารทำหัวใจเต้นผิดปกติและรู้สึกวิงเวียน :
    แรงดันของแก๊สในลำไส้และหลอดเลือดทำให้เกิดความรู้สึกไม่สบายและรู้สึกคลื่นไส้ ภาวะที่รุนแรงอาจส่งผลให้มีความดันโลหิตสูงและแพทย์มักวินิจฉัยผิดพลาด จากนั้นพวกเขาจะกำหนดการใช้ยาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหัวใจแต่ยาพวกนั้นในท้ายที่สุดก็ทำลายกระเพาะอาหารได้อีก

    -อาการปวดรอบหัวใจ
    -อาการปวดหัวหน้าและศีรษะบริเวณหน้าผาก
    -รู้สึกอยากอาเจียน
    -อาการขนลุก มือเท้าเย็นและเหงื่อออกตามฝ่ามือและฝ่าเท้า
    -ความจำเริ่มลดลงจากการขาดสารอาหาร
    -นอนไม่หลับเนื่องจากการขาดสารสื่อประสาท
    -กระวนกระวาย
    -ปวดเมื่อย
    -อ่อนแรง
    -ขาดสมาธิ
    -หยุดหงิด ขี้โมโห
    -ควบคุมอารมณ์ไม่ได้
    -มองโลกในแง่ลบ

    นี่คือบางส่วนของสาเหตุของการเกิดแก็สในกระเพาะอาหาร:
    -นิสัยการกินน้ำจำนวนมากก่อนอาหาร ระหว่างมื้ออาหารและหลังอาหาร
    -ปรุงอาหารผิดวิธี : ผักสดมีเอ็นไซม์เป็นจำนวนมากและเมื่อนำไปปรุงสุกจะย่อยได้ยากกว่าผักสดและก่อให้เกิดแก็สในระบบทางเดินอาหารได้ในรายที่มีการย่อยผิดปกติ
    -กินอาหารที่เน่าเสีย
    -เคี้ยวอาหารอย่างไม่ถูกต้อง : การกินอาหารในอัตราที่รวดเร็ว การพูดและการหัวเราะในขณะที่รับประทานอาหารทำให้อากาศเคลื่อนที่เข้าไปในกระเพาะอาหาร

    -การกินอาหารที่ไม่เป็นไปตามลำดับของการย่อย : ผักสดใช้เวลาในการย่อยราว 20 นาที แป้ง ข้าว ใช้เวลาในการย่อยราว 30 นาทีและโปรตีนใช้เวลาในการย่อยราว 40 นาที่ การกินอาหารที่ใช้เวลาในการย่อยนานกว่าลงไปเป็นลำดับแรกจะทำให้เกิดการหมักหมกของอาหารที่ย่อยง่ายกว่าจนก่อให้แก็สในระบบทางเดินอาหาร

    -เอนไซม์ในกระเพาะอาหารและต่อมจะไม่ทำงานตามปกติหากคุณ..หดหู่ เครียดหรือโกรธในระหว่างมื้ออาหารของคุณ สิ่งนี้อาจทำให้แก๊สในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารเกี่ยวข้องโดยตรงกับสมอง จิตใจที่หดหู่จะส่งผลให้เกิดแรงกระตุ้นที่ไม่เหมาะสมจากสมอง การสร้างเอนไซม์และสารเคมีอื่น ๆ ก็จะผิดพลาดตามไปด้วย นอกจากนี้การดูโทรทัศน์ในขณะที่คุณกินอาหารยังสร้างแก๊สในกระเพาะอาหารไอ้อีกด้วย
    -การดื่มชามากเกินไปยังส่งผลต่อกระเพาะอาหาร
    -แอลกอฮอล์ทำลายหน้าที่ของตับและส่งผลต่อการย่อยในกระเพาะอาหาร
    -นอนหลังอาหารทันทีหรือกินอาหารตอนดึกก็เป็นสาเหตุให้เกิดแก๊ส
    -ผู้ป่วยไทฟอยด์และเกาต์ก็เป็นสาเหตุของการเกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร
    -ท้องผูก ยังพบว่าเป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหารและลำไส้
    -การกินอาหารที่มีน้ำมันมาก ๆ อาหารรสเผ็ด ขนมหวาน ผลไม้หวาน เบเกอรี่ อาหารค้างคืน อาหารแช่เย็น อาหารเหล่านี้มีส่วนร่วมในการก่อแก๊สในกระเพาะอาหาร
    -คนชรามีแนวโน้มที่จะมีแก๊สในกระเพาะอาหารมากที่สุดเนื่องจากการสร้างเอ็นไซม์จะเริ่มลดลงเมื่ออายุได้ 35 ปี
    -ผู้ที่มีโรคที่เกี่ยวกับลำไส้ใหญ่และผู้ป่วยที่มีอาการท้องร่วงหรืออุจจาระบ่อยในแต่ละวันมักประสบปัญหาแก็สในกระเพาะอาหารเป็นประจำ
    -อาหารที่มีแป้งสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวและถั่วลันเตาทำให้เกิดก๊าซในกระเพาะอาหาร
    -น้ำตาลแลคโตส..เป็นที่รู้จักกันว่าทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร : นม ธัญพืช ไอศกรีมและเบเกอรี่มีส่วนประกอบของแลคโตสเป็นจำนวนมาก ในบางคนไม่มีเอนไซม์ lactase อย่างเพียงพอจะย่อยแลคโตสไม่สมบูรณ์ จากนั้นอาหารที่ไม่ได้รับการย่อยจะเคลื่อนย้ายไปยังลำไส้ใหญ่ ที่ซึ่งแบคทีเรียที่เป็นอันตรายจะทำการสลายสารอาหารและปล่อยแก๊สเช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
    อาหารที่ก่อให้เกิดแก๊สในคน ๆ หนึ่งอาจไม่ก่อให้เกิดแก็สในคนอื่น ๆ เนื่องจากความสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ที่แตกต่างกัน อาทิเช่นไฮโดรเจนที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งก็สามารถถูกทำลายได้โดยแบคทีเรียอีกชนิดหนึ่งได้ ปริมาณแบคทีเรียที่อยู่ในลำไส้ใหญ่เป็นปัจจัยในการกำหนดแก๊สในกระเพาะอาหาร บางครั้งแบคทีเรียที่เป็นอันตรายเหล่านี้ลุกลามเข้าไปในลำไส้เล็กซึ่งพวกเขาเริ่มย่อยอาหารด้วยตัวของพวกเขาเองแทนการทำงานของลำไส้เล็ก และผลจากการกระทำของพวกเขาส่งผลให้เกิดการผลิตแก็สเช่นไฮโดรเจน

    ด้วยรักและห่วงใยจากใจจริง

    Cr. Santi Manadee
    #แก็สในทางเดินอาหาร แก็สในระบบทางเดินอาหารทำหัวใจเต้นผิดปกติและรู้สึกวิงเวียน : แรงดันของแก๊สในลำไส้และหลอดเลือดทำให้เกิดความรู้สึกไม่สบายและรู้สึกคลื่นไส้ ภาวะที่รุนแรงอาจส่งผลให้มีความดันโลหิตสูงและแพทย์มักวินิจฉัยผิดพลาด จากนั้นพวกเขาจะกำหนดการใช้ยาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหัวใจแต่ยาพวกนั้นในท้ายที่สุดก็ทำลายกระเพาะอาหารได้อีก -อาการปวดรอบหัวใจ -อาการปวดหัวหน้าและศีรษะบริเวณหน้าผาก -รู้สึกอยากอาเจียน -อาการขนลุก มือเท้าเย็นและเหงื่อออกตามฝ่ามือและฝ่าเท้า -ความจำเริ่มลดลงจากการขาดสารอาหาร -นอนไม่หลับเนื่องจากการขาดสารสื่อประสาท -กระวนกระวาย -ปวดเมื่อย -อ่อนแรง -ขาดสมาธิ -หยุดหงิด ขี้โมโห -ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ -มองโลกในแง่ลบ นี่คือบางส่วนของสาเหตุของการเกิดแก็สในกระเพาะอาหาร: -นิสัยการกินน้ำจำนวนมากก่อนอาหาร ระหว่างมื้ออาหารและหลังอาหาร -ปรุงอาหารผิดวิธี : ผักสดมีเอ็นไซม์เป็นจำนวนมากและเมื่อนำไปปรุงสุกจะย่อยได้ยากกว่าผักสดและก่อให้เกิดแก็สในระบบทางเดินอาหารได้ในรายที่มีการย่อยผิดปกติ -กินอาหารที่เน่าเสีย -เคี้ยวอาหารอย่างไม่ถูกต้อง : การกินอาหารในอัตราที่รวดเร็ว การพูดและการหัวเราะในขณะที่รับประทานอาหารทำให้อากาศเคลื่อนที่เข้าไปในกระเพาะอาหาร -การกินอาหารที่ไม่เป็นไปตามลำดับของการย่อย : ผักสดใช้เวลาในการย่อยราว 20 นาที แป้ง ข้าว ใช้เวลาในการย่อยราว 30 นาทีและโปรตีนใช้เวลาในการย่อยราว 40 นาที่ การกินอาหารที่ใช้เวลาในการย่อยนานกว่าลงไปเป็นลำดับแรกจะทำให้เกิดการหมักหมกของอาหารที่ย่อยง่ายกว่าจนก่อให้แก็สในระบบทางเดินอาหาร -เอนไซม์ในกระเพาะอาหารและต่อมจะไม่ทำงานตามปกติหากคุณ..หดหู่ เครียดหรือโกรธในระหว่างมื้ออาหารของคุณ สิ่งนี้อาจทำให้แก๊สในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารเกี่ยวข้องโดยตรงกับสมอง จิตใจที่หดหู่จะส่งผลให้เกิดแรงกระตุ้นที่ไม่เหมาะสมจากสมอง การสร้างเอนไซม์และสารเคมีอื่น ๆ ก็จะผิดพลาดตามไปด้วย นอกจากนี้การดูโทรทัศน์ในขณะที่คุณกินอาหารยังสร้างแก๊สในกระเพาะอาหารไอ้อีกด้วย -การดื่มชามากเกินไปยังส่งผลต่อกระเพาะอาหาร -แอลกอฮอล์ทำลายหน้าที่ของตับและส่งผลต่อการย่อยในกระเพาะอาหาร -นอนหลังอาหารทันทีหรือกินอาหารตอนดึกก็เป็นสาเหตุให้เกิดแก๊ส -ผู้ป่วยไทฟอยด์และเกาต์ก็เป็นสาเหตุของการเกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร -ท้องผูก ยังพบว่าเป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหารและลำไส้ -การกินอาหารที่มีน้ำมันมาก ๆ อาหารรสเผ็ด ขนมหวาน ผลไม้หวาน เบเกอรี่ อาหารค้างคืน อาหารแช่เย็น อาหารเหล่านี้มีส่วนร่วมในการก่อแก๊สในกระเพาะอาหาร -คนชรามีแนวโน้มที่จะมีแก๊สในกระเพาะอาหารมากที่สุดเนื่องจากการสร้างเอ็นไซม์จะเริ่มลดลงเมื่ออายุได้ 35 ปี -ผู้ที่มีโรคที่เกี่ยวกับลำไส้ใหญ่และผู้ป่วยที่มีอาการท้องร่วงหรืออุจจาระบ่อยในแต่ละวันมักประสบปัญหาแก็สในกระเพาะอาหารเป็นประจำ -อาหารที่มีแป้งสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวและถั่วลันเตาทำให้เกิดก๊าซในกระเพาะอาหาร -น้ำตาลแลคโตส..เป็นที่รู้จักกันว่าทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร : นม ธัญพืช ไอศกรีมและเบเกอรี่มีส่วนประกอบของแลคโตสเป็นจำนวนมาก ในบางคนไม่มีเอนไซม์ lactase อย่างเพียงพอจะย่อยแลคโตสไม่สมบูรณ์ จากนั้นอาหารที่ไม่ได้รับการย่อยจะเคลื่อนย้ายไปยังลำไส้ใหญ่ ที่ซึ่งแบคทีเรียที่เป็นอันตรายจะทำการสลายสารอาหารและปล่อยแก๊สเช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ อาหารที่ก่อให้เกิดแก๊สในคน ๆ หนึ่งอาจไม่ก่อให้เกิดแก็สในคนอื่น ๆ เนื่องจากความสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ที่แตกต่างกัน อาทิเช่นไฮโดรเจนที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งก็สามารถถูกทำลายได้โดยแบคทีเรียอีกชนิดหนึ่งได้ ปริมาณแบคทีเรียที่อยู่ในลำไส้ใหญ่เป็นปัจจัยในการกำหนดแก๊สในกระเพาะอาหาร บางครั้งแบคทีเรียที่เป็นอันตรายเหล่านี้ลุกลามเข้าไปในลำไส้เล็กซึ่งพวกเขาเริ่มย่อยอาหารด้วยตัวของพวกเขาเองแทนการทำงานของลำไส้เล็ก และผลจากการกระทำของพวกเขาส่งผลให้เกิดการผลิตแก็สเช่นไฮโดรเจน ด้วยรักและห่วงใยจากใจจริง Cr. Santi Manadee
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว