ทุกวันนี้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญของเศรษฐกิจโลก Printed Circuit Board (PCB) หรือแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กลายเป็นหัวใจหลักที่ช่วยให้การพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึ้นได้ ตั้งแต่อุปกรณ์สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า อุปกรณ์การแพทย์ ไปจนถึงระบบ AI และ Data Centers
ล่าสุด ประเทศไทยได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำที่มีศักยภาพสูงสุดในการผลิต PCB ของอาเซียน และกำลังมุ่งหน้าสู่การเป็นหนึ่งในผู้นำระดับโลก ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่มุ่งเน้นการดึงดูดการลงทุนและการสร้างรากฐานสำหรับอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่ง โดยตั้งเป้าหมายที่จะเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลกภายใน 5 ปีข้างหน้า
🔶PCB คืออะไร และทำไมถึงสำคัญ
PCB (Printed Circuit Board) คือ ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อและควบคุมการทำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ชิปหรือเซนเซอร์ ที่พบได้ในอุปกรณ์หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์การแพทย์ แผงวงจรเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ทำให้ระบบทั้งหมดสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การทำงานของ PCB สามารถอธิบายได้เหมือนกับ "ทางเดิน" ที่เชื่อมต่อพลังงานไฟฟ้าให้ไหลไปยังส่วนต่างๆ ของวงจร ซึ่งลายวงจรไฟฟ้านี้จะถูกสลักลงบนแผ่นทองแดงที่ยึดอยู่บนวัสดุแข็ง เช่น ไฟเบอร์กลาส วัสดุนี้เป็นตัวรองรับแผงวงจรและทำให้ชิ้นส่วนต่างๆ สามารถติดตั้งและทำงานได้อย่างมีเสถียรภาพ และเป็นรากฐานที่ทำให้การพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเป็นไปได้
1. หัวใจของนวัตกรรมในทุกภาคส่วน : PCB มีบทบาทสำคัญในทุกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี ตั้งแต่อุปกรณ์ส่วนบุคคลไปจนถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และการบิน การที่อุตสาหกรรม PCB เติบโต หมายถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น
2. ตอบโจทย์การออกแบบขนาดเล็กและประสิทธิภาพสูง : เทคโนโลยี PCB รุ่นใหม่ เช่น High-Density Interconnect (HDI) และ Flexible PCB ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีขนาดเล็กลงและเบาขึ้น ขณะเดียวกันยังคงความสามารถในการประมวลผลและการใช้งานที่ซับซ้อน เช่น ในสมาร์ทโฟน รวมทั้งตอบโจทย์การใช้งานในอุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ทางการแพทย์
3. ความยืดหยุ่นและความทนทานที่เพิ่มขึ้น : PCB แบบ Rigid-Flex เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่ผสมผสานความแข็งแรงและความยืดหยุ่นในแผ่นเดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่ต้องการความทนทานและความสามารถในการรับแรงกระแทก เช่น อุตสาหกรรมการบินและยานยนต์
🔶ทำไมประเทศไทยถึงกลายเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญของการลงทุนใน PCB
ข้อมูลจากบีโอไอ สะท้อนว่าการลงทุนในอุตสาหกรรม PCB ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างน่าสนใจ จากปี 2561 ถึงกลางปี 2567 มีการลงทุนรวมเกือบ 200,000 ล้านบาท โดยเฉพาะในปี 2566 ที่มีการลงทุนสูงกว่า 100,000 ล้านบาท และในครึ่งปีแรกของปี 2567 การลงทุนเพิ่มอีก 39,732 ล้านบาท ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมและทิศทางของไทยที่กำลังก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิต PCB ในระดับโลก
1. การเติบโตอย่างรวดเร็วของการลงทุนจากต่างประเทศ : นักลงทุนจาก จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอื่นๆ และการมองเห็นศักยภาพในความเสถียรทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย
2. ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ : ไทยมี แรงงานที่พร้อมพัฒนาทักษะ โครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง และ ห่วงโซ่อุปทานที่ครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการผลิตชิ้นส่วน การเคลือบ การเจาะ การทดสอบทางไฟฟ้า รวมถึงการประกอบชิ้นส่วนขั้นสูง ทำให้สามารถรองรับการผลิตที่ต้องการความแม่นยำและเทคโนโลยีสูงได้อย่างเต็มที่
3. การสนับสนุนจากบีโอไอ : ที่มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดการลงทุนผ่านการมอบสิทธิประโยชน์ต่างๆ ทั้งการยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ และการสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมทั้งยังเน้นการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูง ผ่านการจัดโครงการ Job matching และการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อรองรับอุตสาหกรรม PCB โดยเฉพาะ
🔶การเติบโตสู่ระดับโลก : เป้าหมายของไทยใน 5 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยตั้งเป้าที่จะก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลก ภายใน 5 ปีข้างหน้า การเป็นศูนย์กลางการผลิตในภูมิภาคและการเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานระดับโลก ทำให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญสำหรับนักลงทุนที่ต้องการขยายธุรกิจในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง
ประเทศไทยกำลังมุ่งหน้าไปสู่การเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม PCB ระดับโลกภายใน 5 ปี ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่เน้น 3 ด้านหลัก คือ การพัฒนาบุคลากร การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ สนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
1. การพัฒนาบุคลากร : บีโอไอ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนในการฝึกอบรมบุคลากรและจับคู่ธุรกิจ เพื่อสร้างแรงงานที่มีทักษะสูงสำหรับอุตสาหกรรม PCB
2. การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน : นอกจากการผลิต PCB แล้ว ไทยยังสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การเคลือบ การเจาะ การเชื่อมวงจร และการผลิตชิ้นส่วนที่สนับสนุนการเติบโตของห่วงโซ่อุปทานภายในประเทศ ผ่านงานจับคู่ธุรกิจอย่าง Subcon Thailand และ Thailand Electronics Circuit Asia (THECA)
3. การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ใช้พลังงานและน้ำจำนวนมาก จึงมีการสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดผ่านโครงการ Utility Green Tariff (UGT) และการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การผลิตมีความยั่งยืนและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ต้องการพลังงานและน้ำในปริมาณมาก ปัจจุบันกระทรวงพลังงานกำลังดำเนินโครงการ Utility Green Tariff (UGT) ซึ่งเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ลงทุนมั่นใจว่ามีแหล่งพลังงานสะอาดเพียงพอ รวมถึงการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กระบวนการผลิตยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨
#บีโอไอส่งเสริมการลงทุนทั้งคนไทยและต่างชาติทุกขนาดการลงทุน
📱 0 2553 8111
📧 head@boi.go.th
🌐 www.boi.go.th
🔰ไม่มีค่าใช้จ่ายในการติดต่อ
#PCB #SupplyChain #ThailandTechHub #PCBInnovation #TopPCBThailand
ล่าสุด ประเทศไทยได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำที่มีศักยภาพสูงสุดในการผลิต PCB ของอาเซียน และกำลังมุ่งหน้าสู่การเป็นหนึ่งในผู้นำระดับโลก ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่มุ่งเน้นการดึงดูดการลงทุนและการสร้างรากฐานสำหรับอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่ง โดยตั้งเป้าหมายที่จะเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลกภายใน 5 ปีข้างหน้า
🔶PCB คืออะไร และทำไมถึงสำคัญ
PCB (Printed Circuit Board) คือ ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อและควบคุมการทำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ชิปหรือเซนเซอร์ ที่พบได้ในอุปกรณ์หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์การแพทย์ แผงวงจรเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ทำให้ระบบทั้งหมดสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การทำงานของ PCB สามารถอธิบายได้เหมือนกับ "ทางเดิน" ที่เชื่อมต่อพลังงานไฟฟ้าให้ไหลไปยังส่วนต่างๆ ของวงจร ซึ่งลายวงจรไฟฟ้านี้จะถูกสลักลงบนแผ่นทองแดงที่ยึดอยู่บนวัสดุแข็ง เช่น ไฟเบอร์กลาส วัสดุนี้เป็นตัวรองรับแผงวงจรและทำให้ชิ้นส่วนต่างๆ สามารถติดตั้งและทำงานได้อย่างมีเสถียรภาพ และเป็นรากฐานที่ทำให้การพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเป็นไปได้
1. หัวใจของนวัตกรรมในทุกภาคส่วน : PCB มีบทบาทสำคัญในทุกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี ตั้งแต่อุปกรณ์ส่วนบุคคลไปจนถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และการบิน การที่อุตสาหกรรม PCB เติบโต หมายถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น
2. ตอบโจทย์การออกแบบขนาดเล็กและประสิทธิภาพสูง : เทคโนโลยี PCB รุ่นใหม่ เช่น High-Density Interconnect (HDI) และ Flexible PCB ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีขนาดเล็กลงและเบาขึ้น ขณะเดียวกันยังคงความสามารถในการประมวลผลและการใช้งานที่ซับซ้อน เช่น ในสมาร์ทโฟน รวมทั้งตอบโจทย์การใช้งานในอุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ทางการแพทย์
3. ความยืดหยุ่นและความทนทานที่เพิ่มขึ้น : PCB แบบ Rigid-Flex เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่ผสมผสานความแข็งแรงและความยืดหยุ่นในแผ่นเดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่ต้องการความทนทานและความสามารถในการรับแรงกระแทก เช่น อุตสาหกรรมการบินและยานยนต์
🔶ทำไมประเทศไทยถึงกลายเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญของการลงทุนใน PCB
ข้อมูลจากบีโอไอ สะท้อนว่าการลงทุนในอุตสาหกรรม PCB ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างน่าสนใจ จากปี 2561 ถึงกลางปี 2567 มีการลงทุนรวมเกือบ 200,000 ล้านบาท โดยเฉพาะในปี 2566 ที่มีการลงทุนสูงกว่า 100,000 ล้านบาท และในครึ่งปีแรกของปี 2567 การลงทุนเพิ่มอีก 39,732 ล้านบาท ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมและทิศทางของไทยที่กำลังก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิต PCB ในระดับโลก
1. การเติบโตอย่างรวดเร็วของการลงทุนจากต่างประเทศ : นักลงทุนจาก จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอื่นๆ และการมองเห็นศักยภาพในความเสถียรทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย
2. ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ : ไทยมี แรงงานที่พร้อมพัฒนาทักษะ โครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง และ ห่วงโซ่อุปทานที่ครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการผลิตชิ้นส่วน การเคลือบ การเจาะ การทดสอบทางไฟฟ้า รวมถึงการประกอบชิ้นส่วนขั้นสูง ทำให้สามารถรองรับการผลิตที่ต้องการความแม่นยำและเทคโนโลยีสูงได้อย่างเต็มที่
3. การสนับสนุนจากบีโอไอ : ที่มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดการลงทุนผ่านการมอบสิทธิประโยชน์ต่างๆ ทั้งการยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ และการสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมทั้งยังเน้นการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูง ผ่านการจัดโครงการ Job matching และการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อรองรับอุตสาหกรรม PCB โดยเฉพาะ
🔶การเติบโตสู่ระดับโลก : เป้าหมายของไทยใน 5 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยตั้งเป้าที่จะก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลก ภายใน 5 ปีข้างหน้า การเป็นศูนย์กลางการผลิตในภูมิภาคและการเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานระดับโลก ทำให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญสำหรับนักลงทุนที่ต้องการขยายธุรกิจในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง
ประเทศไทยกำลังมุ่งหน้าไปสู่การเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม PCB ระดับโลกภายใน 5 ปี ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่เน้น 3 ด้านหลัก คือ การพัฒนาบุคลากร การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ สนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
1. การพัฒนาบุคลากร : บีโอไอ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนในการฝึกอบรมบุคลากรและจับคู่ธุรกิจ เพื่อสร้างแรงงานที่มีทักษะสูงสำหรับอุตสาหกรรม PCB
2. การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน : นอกจากการผลิต PCB แล้ว ไทยยังสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การเคลือบ การเจาะ การเชื่อมวงจร และการผลิตชิ้นส่วนที่สนับสนุนการเติบโตของห่วงโซ่อุปทานภายในประเทศ ผ่านงานจับคู่ธุรกิจอย่าง Subcon Thailand และ Thailand Electronics Circuit Asia (THECA)
3. การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ใช้พลังงานและน้ำจำนวนมาก จึงมีการสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดผ่านโครงการ Utility Green Tariff (UGT) และการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การผลิตมีความยั่งยืนและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ต้องการพลังงานและน้ำในปริมาณมาก ปัจจุบันกระทรวงพลังงานกำลังดำเนินโครงการ Utility Green Tariff (UGT) ซึ่งเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ลงทุนมั่นใจว่ามีแหล่งพลังงานสะอาดเพียงพอ รวมถึงการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กระบวนการผลิตยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨
#บีโอไอส่งเสริมการลงทุนทั้งคนไทยและต่างชาติทุกขนาดการลงทุน
📱 0 2553 8111
📧 head@boi.go.th
🌐 www.boi.go.th
🔰ไม่มีค่าใช้จ่ายในการติดต่อ
#PCB #SupplyChain #ThailandTechHub #PCBInnovation #TopPCBThailand
ทุกวันนี้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญของเศรษฐกิจโลก Printed Circuit Board (PCB) หรือแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กลายเป็นหัวใจหลักที่ช่วยให้การพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึ้นได้ ตั้งแต่อุปกรณ์สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า อุปกรณ์การแพทย์ ไปจนถึงระบบ AI และ Data Centers
ล่าสุด ประเทศไทยได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำที่มีศักยภาพสูงสุดในการผลิต PCB ของอาเซียน และกำลังมุ่งหน้าสู่การเป็นหนึ่งในผู้นำระดับโลก ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่มุ่งเน้นการดึงดูดการลงทุนและการสร้างรากฐานสำหรับอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่ง โดยตั้งเป้าหมายที่จะเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลกภายใน 5 ปีข้างหน้า
🔶PCB คืออะไร และทำไมถึงสำคัญ
PCB (Printed Circuit Board) คือ ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อและควบคุมการทำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ชิปหรือเซนเซอร์ ที่พบได้ในอุปกรณ์หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์การแพทย์ แผงวงจรเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ทำให้ระบบทั้งหมดสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การทำงานของ PCB สามารถอธิบายได้เหมือนกับ "ทางเดิน" ที่เชื่อมต่อพลังงานไฟฟ้าให้ไหลไปยังส่วนต่างๆ ของวงจร ซึ่งลายวงจรไฟฟ้านี้จะถูกสลักลงบนแผ่นทองแดงที่ยึดอยู่บนวัสดุแข็ง เช่น ไฟเบอร์กลาส วัสดุนี้เป็นตัวรองรับแผงวงจรและทำให้ชิ้นส่วนต่างๆ สามารถติดตั้งและทำงานได้อย่างมีเสถียรภาพ และเป็นรากฐานที่ทำให้การพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเป็นไปได้
1. หัวใจของนวัตกรรมในทุกภาคส่วน : PCB มีบทบาทสำคัญในทุกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี ตั้งแต่อุปกรณ์ส่วนบุคคลไปจนถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และการบิน การที่อุตสาหกรรม PCB เติบโต หมายถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น
2. ตอบโจทย์การออกแบบขนาดเล็กและประสิทธิภาพสูง : เทคโนโลยี PCB รุ่นใหม่ เช่น High-Density Interconnect (HDI) และ Flexible PCB ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีขนาดเล็กลงและเบาขึ้น ขณะเดียวกันยังคงความสามารถในการประมวลผลและการใช้งานที่ซับซ้อน เช่น ในสมาร์ทโฟน รวมทั้งตอบโจทย์การใช้งานในอุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ทางการแพทย์
3. ความยืดหยุ่นและความทนทานที่เพิ่มขึ้น : PCB แบบ Rigid-Flex เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่ผสมผสานความแข็งแรงและความยืดหยุ่นในแผ่นเดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่ต้องการความทนทานและความสามารถในการรับแรงกระแทก เช่น อุตสาหกรรมการบินและยานยนต์
🔶ทำไมประเทศไทยถึงกลายเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญของการลงทุนใน PCB
ข้อมูลจากบีโอไอ สะท้อนว่าการลงทุนในอุตสาหกรรม PCB ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างน่าสนใจ จากปี 2561 ถึงกลางปี 2567 มีการลงทุนรวมเกือบ 200,000 ล้านบาท โดยเฉพาะในปี 2566 ที่มีการลงทุนสูงกว่า 100,000 ล้านบาท และในครึ่งปีแรกของปี 2567 การลงทุนเพิ่มอีก 39,732 ล้านบาท ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมและทิศทางของไทยที่กำลังก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิต PCB ในระดับโลก
1. การเติบโตอย่างรวดเร็วของการลงทุนจากต่างประเทศ : นักลงทุนจาก จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอื่นๆ และการมองเห็นศักยภาพในความเสถียรทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย
2. ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ : ไทยมี แรงงานที่พร้อมพัฒนาทักษะ โครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง และ ห่วงโซ่อุปทานที่ครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการผลิตชิ้นส่วน การเคลือบ การเจาะ การทดสอบทางไฟฟ้า รวมถึงการประกอบชิ้นส่วนขั้นสูง ทำให้สามารถรองรับการผลิตที่ต้องการความแม่นยำและเทคโนโลยีสูงได้อย่างเต็มที่
3. การสนับสนุนจากบีโอไอ : ที่มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดการลงทุนผ่านการมอบสิทธิประโยชน์ต่างๆ ทั้งการยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ และการสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมทั้งยังเน้นการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูง ผ่านการจัดโครงการ Job matching และการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อรองรับอุตสาหกรรม PCB โดยเฉพาะ
🔶การเติบโตสู่ระดับโลก : เป้าหมายของไทยใน 5 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยตั้งเป้าที่จะก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลก ภายใน 5 ปีข้างหน้า การเป็นศูนย์กลางการผลิตในภูมิภาคและการเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานระดับโลก ทำให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญสำหรับนักลงทุนที่ต้องการขยายธุรกิจในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง
ประเทศไทยกำลังมุ่งหน้าไปสู่การเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม PCB ระดับโลกภายใน 5 ปี ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่เน้น 3 ด้านหลัก คือ การพัฒนาบุคลากร การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ สนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
1. การพัฒนาบุคลากร : บีโอไอ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนในการฝึกอบรมบุคลากรและจับคู่ธุรกิจ เพื่อสร้างแรงงานที่มีทักษะสูงสำหรับอุตสาหกรรม PCB
2. การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน : นอกจากการผลิต PCB แล้ว ไทยยังสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การเคลือบ การเจาะ การเชื่อมวงจร และการผลิตชิ้นส่วนที่สนับสนุนการเติบโตของห่วงโซ่อุปทานภายในประเทศ ผ่านงานจับคู่ธุรกิจอย่าง Subcon Thailand และ Thailand Electronics Circuit Asia (THECA)
3. การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ใช้พลังงานและน้ำจำนวนมาก จึงมีการสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดผ่านโครงการ Utility Green Tariff (UGT) และการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การผลิตมีความยั่งยืนและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ต้องการพลังงานและน้ำในปริมาณมาก ปัจจุบันกระทรวงพลังงานกำลังดำเนินโครงการ Utility Green Tariff (UGT) ซึ่งเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ลงทุนมั่นใจว่ามีแหล่งพลังงานสะอาดเพียงพอ รวมถึงการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กระบวนการผลิตยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨
#บีโอไอส่งเสริมการลงทุนทั้งคนไทยและต่างชาติทุกขนาดการลงทุน
📱 0 2553 8111
📧 head@boi.go.th
🌐 www.boi.go.th
🔰ไม่มีค่าใช้จ่ายในการติดต่อ
#PCB #SupplyChain #ThailandTechHub #PCBInnovation #TopPCBThailand
0 Comments
0 Shares
128 Views
0 Reviews