• #พุทธคุณ #เวรกรรม #ความเชื่อ #ศรัทธา
    https://youtu.be/FDck1WTPtMQ
    #พุทธคุณ #เวรกรรม #ความเชื่อ #ศรัทธา https://youtu.be/FDck1WTPtMQ
    0 Comments 0 Shares 14 Views 0 Reviews
  • #พุทธคุณพระเครื่อง# #ร่างทรง#
    ....ประสบการณ์ส่วนตัว ย้อนไป 40 กว่าปีก่อน สมัยผู้เขียนอายุ 12_13 ปี ...
    ...คุณลุงของผู้เขียนเป็นทหารอยู่ลพบุรี ...ขี่มอเตอร์ไซด์...หลับใน ประสานงา กับรถกระบะ....เสียชีวิตคาที่....แต่ที่น่าสนใจคือ คอหัก แขนขาหัก.. แต่ไม่มีเลือดสักหยด...คือเหนียวแต่ข้างนอก....ข้างในไม่เหนียวด้วย...ผู้เขียนจึงถามน้องชายคุณลุงอีกคนว่า ห้อยพระอะไร...ได้รับคำตอบว่า ซุ้มกอกำแพงเพชร องค์เดียว...ก็เลยจำไว้ว่า .วันนึงจะต้องหามาให้ได้ ..
    ...หลังจากจัดการงานศพเสร็จ...ก็มีการเข้าทรง...และบันทึกเทป (สมัยนั้น เป็นม้วนกลมๆ 2 ม้วน เขาเรียกเทปรีล หรืออะไร .จำไม่ได้..ยังไม่มีตลับเทปคาสเซ็ท) ...แต่ตอนเข้าทรงผู้เขียนไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์...หลังจากวันเข้าทรง...บรรดาญาติก็เอาทีที่บันทึกไว้มาเปิด และฟังพร้อมกัน...จำนวนหลายๆคน....ได้ยินครั้งแรก..ตกใจ...เสียงลุงเราจริงๆ....ญาติถามคนทรงว่า เป็นไงบ้าง อยู่ที่ไหน ...เสียงตอบมาว่า ไม่ต้องห่วง พี่อยู่กับพ่อพระกาฬแล้ว (ศาลพระกาฬลพบุรี) ฝากลูกๆพี่ด้วยนะ.......ตกใจครั้งที่ 2 ....คือ ร่างทรง...เป็นผู้หญิง....!!! ..แต่เสียงผู้ชาย ลุงเรา 100% ......
    ....วิทยาศาสตร์มีคำตอบไหม..สิ่งนี้ ...
    ...ส่วนตัวมีประสบการณ์รอดตายมาก็หลายครั้ง ....เชื่อมั่น 100% ......แต่....ต้องขึ้นอยู่กับองค์ประกอบว่า...ใครสร้าง ...ใครเสก ..มีความสามารถจริงไหม..ที่จะทำให้มีพุทธานุภาพจริง............ไม่ใช่เชื่อโดยการปั่น หรือการตลาด.....แน่นอน..
    ...อีกนิด เมื่อก่อน ร่างทรงจริงเก๊ เขาพิสูจน์กันง่ายๆ ถ้าลงทรง จุดธูปแดงๆสักกำมือ ...จี้เลย....ถ้าเก๊ก็สะดุ้งแน่...ถ้าของจริงนิ่งเฉย (ร่างทรงจตุคามยุคแรกเป็นแบบนี้น นิ่ง)
    #พุทธคุณพระเครื่อง# #ร่างทรง# ....ประสบการณ์ส่วนตัว ย้อนไป 40 กว่าปีก่อน สมัยผู้เขียนอายุ 12_13 ปี ... ...คุณลุงของผู้เขียนเป็นทหารอยู่ลพบุรี ...ขี่มอเตอร์ไซด์...หลับใน ประสานงา กับรถกระบะ....เสียชีวิตคาที่....แต่ที่น่าสนใจคือ คอหัก แขนขาหัก.. แต่ไม่มีเลือดสักหยด...คือเหนียวแต่ข้างนอก....ข้างในไม่เหนียวด้วย...ผู้เขียนจึงถามน้องชายคุณลุงอีกคนว่า ห้อยพระอะไร...ได้รับคำตอบว่า ซุ้มกอกำแพงเพชร องค์เดียว...ก็เลยจำไว้ว่า .วันนึงจะต้องหามาให้ได้ .. ...หลังจากจัดการงานศพเสร็จ...ก็มีการเข้าทรง...และบันทึกเทป (สมัยนั้น เป็นม้วนกลมๆ 2 ม้วน เขาเรียกเทปรีล หรืออะไร .จำไม่ได้..ยังไม่มีตลับเทปคาสเซ็ท) ...แต่ตอนเข้าทรงผู้เขียนไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์...หลังจากวันเข้าทรง...บรรดาญาติก็เอาทีที่บันทึกไว้มาเปิด และฟังพร้อมกัน...จำนวนหลายๆคน....ได้ยินครั้งแรก..ตกใจ...เสียงลุงเราจริงๆ....ญาติถามคนทรงว่า เป็นไงบ้าง อยู่ที่ไหน ...เสียงตอบมาว่า ไม่ต้องห่วง พี่อยู่กับพ่อพระกาฬแล้ว (ศาลพระกาฬลพบุรี) ฝากลูกๆพี่ด้วยนะ.......ตกใจครั้งที่ 2 ....คือ ร่างทรง...เป็นผู้หญิง....!!! ..แต่เสียงผู้ชาย ลุงเรา 100% ...... ....วิทยาศาสตร์มีคำตอบไหม..สิ่งนี้ ... ...ส่วนตัวมีประสบการณ์รอดตายมาก็หลายครั้ง ....เชื่อมั่น 100% ......แต่....ต้องขึ้นอยู่กับองค์ประกอบว่า...ใครสร้าง ...ใครเสก ..มีความสามารถจริงไหม..ที่จะทำให้มีพุทธานุภาพจริง............ไม่ใช่เชื่อโดยการปั่น หรือการตลาด.....แน่นอน.. ...อีกนิด เมื่อก่อน ร่างทรงจริงเก๊ เขาพิสูจน์กันง่ายๆ ถ้าลงทรง จุดธูปแดงๆสักกำมือ ...จี้เลย....ถ้าเก๊ก็สะดุ้งแน่...ถ้าของจริงนิ่งเฉย (ร่างทรงจตุคามยุคแรกเป็นแบบนี้น นิ่ง)
    Wow
    1
    0 Comments 1 Shares 18 Views 0 Reviews
  • พิธีไหว้บุพพครูอาจารย์ (หลวงปู่วิเวียร ฐิตปุญโญ)
    วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒
    ..............................................................................
    เริ่มสวด นะโม 3 จบ

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ๑. พุทธคุณ
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

    ๒. ธรรมคุณ
    สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ

    ๓. สังฆคุณ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    ๔. พุทธชัยมงคลคาถา (ถวายพรพระ)

    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ

    ๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ
    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

    ๕. มหาการุณิโก

    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา
    ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง
    นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ
    พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง
    สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ
    จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ


    ..............................................................................................


    ๖. พระคาถาชินบัญชร


    ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.

    ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.

    สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

    หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.

    ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.

    เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว


    กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.

    ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.

    เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

    ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

    ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

    ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.

    อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.

    ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.

    อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    ๗. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต*

    ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)

    พิธีไหว้บุพพครูอาจารย์ (หลวงปู่วิเวียร ฐิตปุญโญ) วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ .............................................................................. เริ่มสวด นะโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ๑. พุทธคุณ อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ ๒. ธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ ๓. สังฆคุณ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ๔. พุทธชัยมงคลคาถา (ถวายพรพระ) ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ๕. มหาการุณิโก มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ .............................................................................................. ๖. พระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. ๗. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำว่า เต สวดให้ตัวเองใช้คำว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 78 Views 39 0 Reviews
  • ..ฟังๆไปเถอะ ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง ผิดบ้าง ถูกบ้าง เข้าใจในแบบเราชัด ไม่เข้าใจในแบบเราชัด แบบบางที่เจอกับตัวใครมันที่พระเครื่องมีพุทธคุณใส่คอคนถูกผีสิงผีเข้าคน คนนั้นตื่นคืนสติจริงก็ชัดเจนในตัวเราท่านเธอที่ประสบเจอจริง อ.เบียร์อาจหมายไปทางดีอื่น ไม่เคยเจอกับตัวด้านนี้จึงว่าพระเครื่องนั้นนี้ไม่มีพุทธคุณ แต่หมายทางคำสอนถึงคุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ก็ว่าไป,ข้ามๆส่วนผิดน้อยๆไปเถอะ,คนเราเก่งรู้ต่างกัน ใช่เข้าใจจริงถึงธรรมหมด,อย่างน้อยก็มาร่วมปกป้องพระพุทธศาสนาให้ทรงทางสายปกติก็ดีแล้วร่วมกัน,หายากที่จะอยู่กลางแสง ถูกอีแร้งรอบทิศสะกัดดาวรุ้ง ,ทางนี้ยังงๆในการท้าทายอ.เบียร์เลย กระทบวาทะวลีคำกันหลายความเลย,สรุปอ.มาดีหรือมาร้ายในช่วงเปิดตัวใหม่ๆเลย จนอาจารย์สายดีงามรับรองว่า อย่างถือสาท่าน ถูกผิดกรรมใดๆตกแก่ผู้กระทำเองล่ะ,เราผู้ไปฟังก็ไตร่ตรองอย่างมีสติปัญญาเอง แยกแยะวิเคราะห์ธรรมฝ่ายดีฝ่ายชั่วเองก่อนกินดื่มเข้าไปได้,อย่าพึ่งเชื่อแม้ท่านคืออาจารย์ของเราก็ว่า,ยุคนี้สมัยนี้คนเราหยาบหนานักด้วยฝ่ายปกครองดึงตำราเรียนของทางพระพุทธศาสนาออกไปจากกระทรวงศึกษาในการสอนเด็กๆก็ย้อนกลับมาอีลิทสายซาตานท่านลอร์ดยิวอีกล่ะจะล้างสมองเยาวชนไทยมิให้รู้ดีรู้ชั่วทั้งตำราศีลธรรมจริยธรรมออกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนไทยเรา,หน้าที่พลเรือนพลเมืองไทยก็ด้วย,ต้องไปคุยสายต่อต้านลัทธิทะเลทรายยิวแรปทีเลี่ยนเขา คนไทยจึงขาดการศึกษาศีลธรรมจริยธรรม&หน้าที่พลเมืองของชาติการรักชาติบ้านเมืองตนออกไป,สส.สว.นักการเมืองจึงสะดวกในการคตโกงเพราะคนไทยไม่ว่าเรื่องจริยธรรมแล้วด้วยไม่ได้เรียนได้รู้ว่าถ้านักการเมืองทำแบบนี้ผิดจริยธรรมตามตำราที่เล่าเรียนมาร่วมกันนะ ต้องสำเนียงพึ่งระวังละอายใจตนเองในฐานะสส.สว.ด้วย ต้องละอาย&เกรงกลัวในบาปในชั่วด้วยเป็นแบบอย่างเยี่ยงอย่างเยาวชนที่ดีด้วย,มันเห็นตรงนี้จึงถอดออกจากการเรียนการสอนในอดีตเลย เพื่อจะได้พูดให้นักการเมืองนักปกครองแบบพวกมันไม่ได้ จนกระอักเลือดตายแบบหนังจีนได้เพราะรับคำด่าตำหนิไม่ได้ด้วยคนไทยเหล่าเรียนจนมีวิชาแกร่งกล้าเต็มภูมิกันทุกๆคน ซวยต่อการโกง&ลำบากต่อการทำชั่ว,
    ..อ.เบียร์ในช่วงนี้จึงเหมาะแก่ยุคสมัยคนหยาบๆหนาๆออกหูซ้ายทะลุหัวขวาจึงโดนกระโถนแก่ตีเข้าก็ว่า,
    ..เยาวชนไทยเราหลายคนมาหันฟังสิ่งดีๆสู่ประตูทางธรรม เดินขึ้นสู่ทางที่ถูกที่ควรร่วมกันดำรงชาติไทยพัฒนาชาติเรามิให้หลงทางตามฝรั่งซาตานมารปีศาจได้นะดีแล้ว.
    ..ฟังๆไปเถอะ ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง ผิดบ้าง ถูกบ้าง เข้าใจในแบบเราชัด ไม่เข้าใจในแบบเราชัด แบบบางที่เจอกับตัวใครมันที่พระเครื่องมีพุทธคุณใส่คอคนถูกผีสิงผีเข้าคน คนนั้นตื่นคืนสติจริงก็ชัดเจนในตัวเราท่านเธอที่ประสบเจอจริง อ.เบียร์อาจหมายไปทางดีอื่น ไม่เคยเจอกับตัวด้านนี้จึงว่าพระเครื่องนั้นนี้ไม่มีพุทธคุณ แต่หมายทางคำสอนถึงคุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ก็ว่าไป,ข้ามๆส่วนผิดน้อยๆไปเถอะ,คนเราเก่งรู้ต่างกัน ใช่เข้าใจจริงถึงธรรมหมด,อย่างน้อยก็มาร่วมปกป้องพระพุทธศาสนาให้ทรงทางสายปกติก็ดีแล้วร่วมกัน,หายากที่จะอยู่กลางแสง ถูกอีแร้งรอบทิศสะกัดดาวรุ้ง ,ทางนี้ยังงๆในการท้าทายอ.เบียร์เลย กระทบวาทะวลีคำกันหลายความเลย,สรุปอ.มาดีหรือมาร้ายในช่วงเปิดตัวใหม่ๆเลย จนอาจารย์สายดีงามรับรองว่า อย่างถือสาท่าน ถูกผิดกรรมใดๆตกแก่ผู้กระทำเองล่ะ,เราผู้ไปฟังก็ไตร่ตรองอย่างมีสติปัญญาเอง แยกแยะวิเคราะห์ธรรมฝ่ายดีฝ่ายชั่วเองก่อนกินดื่มเข้าไปได้,อย่าพึ่งเชื่อแม้ท่านคืออาจารย์ของเราก็ว่า,ยุคนี้สมัยนี้คนเราหยาบหนานักด้วยฝ่ายปกครองดึงตำราเรียนของทางพระพุทธศาสนาออกไปจากกระทรวงศึกษาในการสอนเด็กๆก็ย้อนกลับมาอีลิทสายซาตานท่านลอร์ดยิวอีกล่ะจะล้างสมองเยาวชนไทยมิให้รู้ดีรู้ชั่วทั้งตำราศีลธรรมจริยธรรมออกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนไทยเรา,หน้าที่พลเรือนพลเมืองไทยก็ด้วย,ต้องไปคุยสายต่อต้านลัทธิทะเลทรายยิวแรปทีเลี่ยนเขา คนไทยจึงขาดการศึกษาศีลธรรมจริยธรรม&หน้าที่พลเมืองของชาติการรักชาติบ้านเมืองตนออกไป,สส.สว.นักการเมืองจึงสะดวกในการคตโกงเพราะคนไทยไม่ว่าเรื่องจริยธรรมแล้วด้วยไม่ได้เรียนได้รู้ว่าถ้านักการเมืองทำแบบนี้ผิดจริยธรรมตามตำราที่เล่าเรียนมาร่วมกันนะ ต้องสำเนียงพึ่งระวังละอายใจตนเองในฐานะสส.สว.ด้วย ต้องละอาย&เกรงกลัวในบาปในชั่วด้วยเป็นแบบอย่างเยี่ยงอย่างเยาวชนที่ดีด้วย,มันเห็นตรงนี้จึงถอดออกจากการเรียนการสอนในอดีตเลย เพื่อจะได้พูดให้นักการเมืองนักปกครองแบบพวกมันไม่ได้ จนกระอักเลือดตายแบบหนังจีนได้เพราะรับคำด่าตำหนิไม่ได้ด้วยคนไทยเหล่าเรียนจนมีวิชาแกร่งกล้าเต็มภูมิกันทุกๆคน ซวยต่อการโกง&ลำบากต่อการทำชั่ว, ..อ.เบียร์ในช่วงนี้จึงเหมาะแก่ยุคสมัยคนหยาบๆหนาๆออกหูซ้ายทะลุหัวขวาจึงโดนกระโถนแก่ตีเข้าก็ว่า, ..เยาวชนไทยเราหลายคนมาหันฟังสิ่งดีๆสู่ประตูทางธรรม เดินขึ้นสู่ทางที่ถูกที่ควรร่วมกันดำรงชาติไทยพัฒนาชาติเรามิให้หลงทางตามฝรั่งซาตานมารปีศาจได้นะดีแล้ว.
    0 Comments 0 Shares 108 Views 22 0 Reviews
  • #พุทธคุณ #กรรม
    https://youtu.be/1AypK4PDJEo
    #พุทธคุณ #กรรม https://youtu.be/1AypK4PDJEo
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 42 Views 0 Reviews
  • บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม
    กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง

    1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘)
    มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘

    2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์
    ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ

    3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ
    ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง

    4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ
    1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล
    2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล
    3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต
    พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน
    ดังข้อความว่า
    "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส
    คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า

    5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ
    “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ;
    เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ.
    "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม
    ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ
    การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์

    6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้
    ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี
    เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด
    "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ."
    วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙.
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8

    ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ
    สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล”
    (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.)

    วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ
    (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช)

    7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร
    เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.)

    8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน
    โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น
    จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ

    9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า
    “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์
    วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20
    หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด

    10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า
    “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม;
    คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก .
    ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง
    ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้
    ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ
    ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ
    ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม
    อธิบายความ
    1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓)
    2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา
    3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ
    4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓)

    11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม

    12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ
    ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า
    “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา
    เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    (ที.มหา.10/134/78.)
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3
    คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน
    ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้

    13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ
    ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต
    ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.

    14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา
    ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย

    15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด
    การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่
    (มี ต่อ 16-18)

    อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง 1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘) มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘ 2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์ ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ 3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง 4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ 1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล 2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล 3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า 5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ; เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ. "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์ 6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้ ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ." วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙. https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8 ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล” (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.) วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช) 7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.) 8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ 9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์ วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20 หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด 10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม; คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก . ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้ ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม อธิบายความ 1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓) 2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา 3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ 4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓) 11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม 12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” (ที.มหา.10/134/78.) https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3 คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้ 13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น. 14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย 15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่ (มี ต่อ 16-18) อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    0 Comments 0 Shares 188 Views 0 Reviews
  • 🌳 #EP3
    ..คุยกับอดีตโจรคนนึง...แกหนี และยิงสู้กับตำรวจ...ถูกยิง 3 นัด หน้าอก 1 นัด แค่ช้ำ ผิวไหม้ เสื้อขาด แต่ไม่เข้า...ที่ท้อง เช่นกันกับหน้าอก...
    แต่อีกนัด เข้าที่ต้นขา กระสุนฝัง...
    อันนี้ ห้อย หลวงพ่อแดง วัดทุ่งคอก.จ สุพรรณ...
    ...เดี๋ยวจะยาวไป...ตั้งแต่เก็บข้อมูลมาหลายปี..ผู้เขียนเป็นนักสถิติ เชื่อสถิติ และข้อมูลจากหลายส่วน...พุทธคุณพระเครื่องมีจริง...แต่ให้ผลไม่เหมือนกัน...ทั้งเรื่องของแต่ละบุคคล หรือแต่ละเกจิอาจารย์ ..มันมีเรื่อง "โฉลก" และ "บุญกรรม" มาเกี่ยวข้อง...2 สิ่งนี้ คือ คำอธิบายว่า ทำไมจึงให้ผล...ไม่เหมือนกัน..ในทุกคน....
    🌳 #EP3 ..คุยกับอดีตโจรคนนึง...แกหนี และยิงสู้กับตำรวจ...ถูกยิง 3 นัด หน้าอก 1 นัด แค่ช้ำ ผิวไหม้ เสื้อขาด แต่ไม่เข้า...ที่ท้อง เช่นกันกับหน้าอก... แต่อีกนัด เข้าที่ต้นขา กระสุนฝัง... อันนี้ ห้อย หลวงพ่อแดง วัดทุ่งคอก.จ สุพรรณ... ...เดี๋ยวจะยาวไป...ตั้งแต่เก็บข้อมูลมาหลายปี..ผู้เขียนเป็นนักสถิติ เชื่อสถิติ และข้อมูลจากหลายส่วน...พุทธคุณพระเครื่องมีจริง...แต่ให้ผลไม่เหมือนกัน...ทั้งเรื่องของแต่ละบุคคล หรือแต่ละเกจิอาจารย์ ..มันมีเรื่อง "โฉลก" และ "บุญกรรม" มาเกี่ยวข้อง...2 สิ่งนี้ คือ คำอธิบายว่า ทำไมจึงให้ผล...ไม่เหมือนกัน..ในทุกคน....
    0 Comments 0 Shares 49 Views 0 Reviews
  • #Ep2
    ...มีครั้งนึง บริจาคเลือด ที่สภากาชาดไทย ทุกครั้งก็ปกติ..บริจาคกว่า 40 ครั้งแล้ว..แต่ครั้งนี้...เข็มแทงไม่เข้า ...!! พยายามแทงอยู่ 3 เที่ยว...จนเราเจ็บมาก ...จนต้องเปลี่ยนพยาบาลมาอีกคน....ใครเคยบริจาคจะทราบว่า เข็มใหญ่แค่ไหน? ...แทงไม่เข้าได้อย่างไร...จนพยาบาลที่มาใหม่ ถามว่า มีสร้อยอะไร เอาออกก่อนนะคะ (เขาคงเคยเจอ) เราก็เอาสร้อยออก...
    ..สรุป เข้า..ปกติ...กลับมาบ้าน ม่วงช้ำไปหมด ระบมไปหลายวัน ที่แทงไม่เข้า...
    ...เวลาทดสอบพุทธคุณพระสายไหน ปกติ เราจะแจกต่ายให้คนใกล้ชิดเอาไปห้อย..สักหลายเดือน ..และถามว่า ประสบการณ์คืออะไรบ้าง ...ทำแบบนี้มาหลายเกจิแล้ว...ช่างคนนึงลูกน้องเรา หินเจีย.ปั่นเข้ามือเต็มๆ..ปกติ น่าจะแหก...แต่ไม่..แค่เป็นรอยแดงๆ...คนโดนยัง งง เลย..
    นี่ก็พ่อสุดวัดกาหลง...
    🌀 ต่อ EP3
    #Ep2 ...มีครั้งนึง บริจาคเลือด ที่สภากาชาดไทย ทุกครั้งก็ปกติ..บริจาคกว่า 40 ครั้งแล้ว..แต่ครั้งนี้...เข็มแทงไม่เข้า ...!! พยายามแทงอยู่ 3 เที่ยว...จนเราเจ็บมาก ...จนต้องเปลี่ยนพยาบาลมาอีกคน....ใครเคยบริจาคจะทราบว่า เข็มใหญ่แค่ไหน? ...แทงไม่เข้าได้อย่างไร...จนพยาบาลที่มาใหม่ ถามว่า มีสร้อยอะไร เอาออกก่อนนะคะ (เขาคงเคยเจอ) เราก็เอาสร้อยออก... ..สรุป เข้า..ปกติ...กลับมาบ้าน ม่วงช้ำไปหมด ระบมไปหลายวัน ที่แทงไม่เข้า... ...เวลาทดสอบพุทธคุณพระสายไหน ปกติ เราจะแจกต่ายให้คนใกล้ชิดเอาไปห้อย..สักหลายเดือน ..และถามว่า ประสบการณ์คืออะไรบ้าง ...ทำแบบนี้มาหลายเกจิแล้ว...ช่างคนนึงลูกน้องเรา หินเจีย.ปั่นเข้ามือเต็มๆ..ปกติ น่าจะแหก...แต่ไม่..แค่เป็นรอยแดงๆ...คนโดนยัง งง เลย.. นี่ก็พ่อสุดวัดกาหลง... 🌀 ต่อ EP3
    0 Comments 0 Shares 39 Views 0 Reviews
  • สักครู่ดูคลิป อ.คนดัง...ออกมาพูดว่า พุทธคุณพระเครื่อง ถ้ามีจริง ต้องใช้ได้กับทุกคนสิ....เอาประสบการณ์ของผู้เขียนเอง. และพบเจอกับมหาเศรษญีเมืองไทย นักเลง โจร ก็มากมาย....
    ..ผู้เขียน ขับรถ หลับใน ครั้งแรก รถกำลังจะขึ้นเกาะกลาง..มีคนกระชากตัวอย่างแรง จนตื่น หักพวงมาลัยทัน....
    ..ครั้งที่ 2 หลับเช่นเคย 6 โมงเช้า เพิ่งเลิกดื่ม...อยู่บนทางด่วน..รถเองแถไป..กำลังจะพุงลงทางด่วน...เช่นเคย มีคนกระขากจนตื่น...หักพวงมาลัยกลับทัน..และรถข้างๆที่หักไปหาเขาก็หลบเราทันด้วย...
    ....2 ครั้งนี้ พระองค์เดียวกัน คือ หลวงปู่ทวด...
    ..อีกครั้งนึง เราทำธุรกิจ แล้วมีศัตรู...ปกติทุกเช้า จะออกจากบ้าน 9.00 น. คือ รอให้รถหายติดก่อน....วันนั้นก็เช่นเคย...มีลางสังหรณ์ว่า อย่าเพิ่งออกไป...ก็กลับมากินกาแฟ อ่านหนังสือ อะไรไปเรื่อยจนถึง 10.30 น. ....พอเปิดรั้ว..เห็นก้นบุหรี่จำนวนมาก..เลยเดินไปถามบ้านตรงข้ามว่า ใครมายืนสูบและทิ้งตรงนี้ ...ได้คำตอบว่า มีคนแต่งกายเหมือนทหาร..ครึ่งท่อน 3 คน..เดินวนไปมา .ตั้งนานแล้ว..เพิ่งไปเมื้อสักครู่....ก็อ่อเลย..คือ จะมาดักอุ้มเราแน่...
    ..ตอนนั้น ห้อย เสือเผ่น ปี 17 หลวงพ่อสุดวัดกาหลง เดี๋ยวๆเลย.
    ,...ต่อ Ep 2
    สักครู่ดูคลิป อ.คนดัง...ออกมาพูดว่า พุทธคุณพระเครื่อง ถ้ามีจริง ต้องใช้ได้กับทุกคนสิ....เอาประสบการณ์ของผู้เขียนเอง. และพบเจอกับมหาเศรษญีเมืองไทย นักเลง โจร ก็มากมาย.... ..ผู้เขียน ขับรถ หลับใน ครั้งแรก รถกำลังจะขึ้นเกาะกลาง..มีคนกระชากตัวอย่างแรง จนตื่น หักพวงมาลัยทัน.... ..ครั้งที่ 2 หลับเช่นเคย 6 โมงเช้า เพิ่งเลิกดื่ม...อยู่บนทางด่วน..รถเองแถไป..กำลังจะพุงลงทางด่วน...เช่นเคย มีคนกระขากจนตื่น...หักพวงมาลัยกลับทัน..และรถข้างๆที่หักไปหาเขาก็หลบเราทันด้วย... ....2 ครั้งนี้ พระองค์เดียวกัน คือ หลวงปู่ทวด... ..อีกครั้งนึง เราทำธุรกิจ แล้วมีศัตรู...ปกติทุกเช้า จะออกจากบ้าน 9.00 น. คือ รอให้รถหายติดก่อน....วันนั้นก็เช่นเคย...มีลางสังหรณ์ว่า อย่าเพิ่งออกไป...ก็กลับมากินกาแฟ อ่านหนังสือ อะไรไปเรื่อยจนถึง 10.30 น. ....พอเปิดรั้ว..เห็นก้นบุหรี่จำนวนมาก..เลยเดินไปถามบ้านตรงข้ามว่า ใครมายืนสูบและทิ้งตรงนี้ ...ได้คำตอบว่า มีคนแต่งกายเหมือนทหาร..ครึ่งท่อน 3 คน..เดินวนไปมา .ตั้งนานแล้ว..เพิ่งไปเมื้อสักครู่....ก็อ่อเลย..คือ จะมาดักอุ้มเราแน่... ..ตอนนั้น ห้อย เสือเผ่น ปี 17 หลวงพ่อสุดวัดกาหลง เดี๋ยวๆเลย. ,...ต่อ Ep 2
    0 Comments 0 Shares 47 Views 0 Reviews
  • 1.หวังพึ่งพาพุทธคุณ แคล้วคลาดปลอดภัย เจริญรุ่งเรือง
    2. สร้างมูลค่าเพิ่มได้มาก ถ้าเก็บถูกวิธี ที่วงการนิยมเล่นหา และเลือกถูกเกจิอาจารย์
    3. สภาพคล่องดีมาก เปลี่ยนเป็นมูลค่าเงินสดได้ง่าย ถ้าเทียบกับสินทรัพย์ชนิดอื่น เช่นที่ดิน อสังหาอื่นๆ
    4. ได้ศึกษาพุทธศิลป์ อาจย้อนไปถึงยุคสมัยในประวัติศาสตร์กันเลย
    5. เป็นหน้าตาแก่ผู้พบเห็น (ที่ชอบพระ) ถ้าเรามีของแท้ ของหายาก ของสวย.
    (แถม) ทยอยลงทุนได้ ตามกำลังทรัพย์ของเราในแต่ละช่วงเวลา
    1.หวังพึ่งพาพุทธคุณ แคล้วคลาดปลอดภัย เจริญรุ่งเรือง 2. สร้างมูลค่าเพิ่มได้มาก ถ้าเก็บถูกวิธี ที่วงการนิยมเล่นหา และเลือกถูกเกจิอาจารย์ 3. สภาพคล่องดีมาก เปลี่ยนเป็นมูลค่าเงินสดได้ง่าย ถ้าเทียบกับสินทรัพย์ชนิดอื่น เช่นที่ดิน อสังหาอื่นๆ 4. ได้ศึกษาพุทธศิลป์ อาจย้อนไปถึงยุคสมัยในประวัติศาสตร์กันเลย 5. เป็นหน้าตาแก่ผู้พบเห็น (ที่ชอบพระ) ถ้าเรามีของแท้ ของหายาก ของสวย. (แถม) ทยอยลงทุนได้ ตามกำลังทรัพย์ของเราในแต่ละช่วงเวลา
    0 Comments 0 Shares 171 Views 0 Reviews


  • ในวงการเซียนพระทราบกันดีว่า จะไม่มี “พระเบญจภาคี” ได้เลย หากปราศจากบุคคลที่ชื่อ “ตรียัมปวาย” อันเป็นนามปากกาของปรมาจารย์ด้านพระเครื่องผู้มีชื่อเสียงโด่งดังระหว่างช่วงทศวรรษ 2490-2520 และเป็นแบบแผน และหลักยึดของเซียนพระต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

    เนื่องจากเขาผู้นี้เอง เป็นผู้รวบรวมพระพิมพ์รุ่นเด่นๆ 5 สกุลมาบัญญัตินามเฉพาะขึ้นว่า “พระเบญจภาคี”

    นามจริงของตรียัมปวายคือ พันเอกพิเศษผจญ กิตติประวัติ



    ท่านเป็นคนเขียนบทความในหนังสือชุด “ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่อง” โดยใช้นามปากกาว่า ตรียัมปวาย อันมาจากพิธีโล้ชิงช้า ที่สิ้นสุดไปในปี พศ 2478

    พุทธคุณพระเครื่อง

    ความนิยมของพระเครื่องเริ่มต้นขึ้นช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พศ.2485) อันเป็นยุคที่ทั่วทุกหัวระแหงผู้คนอดอยากยากแค้น และหวาดระแวง เรื่องความปลอดภัยในชีวิต ผู้คนจึงต่างเสาะแสวงหาของดีมาคุ้มครองป้องกัน และเมื่อมีความนิยม มีราคาซื้อขาย อาชีพใหม่ก็เกิดขึ้น การลักลอบขุดกรุขโมยพระเครื่องมาขายผู้ดีบางกอกเพื่อประทังชีพ ความกลัวของผู้คน รวมถึงชายชาติทหารที่ต้องถูกเกณฑ์ไปออกรบ ก็จำเป็นต้องหาเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ



    ความหมายแห่งเบญจภาคี

    ตอนแรกตรียัมปวายเคยกำหนดว่าบรรดาพระเครื่องที่โดดเด่นในสยามนั้น ที่สุดของที่สุดมีแค่ 3 พิมพ์ทรง ได้แก่ พระสมเด็จวัดระฆัง พระนางพญาพิษณุโลก และพระรอดลำพูน รวมเรียกว่า “ไตรภาค” หรือ “ไตรภาคี”

    แต่แล้วจากนั้นไม่นานก็เพิ่มมาอีก 2 สกุลคือ พระซุ้มกอกำแพงเพชร กับพระผงสุพรรณ บัญญัตินามใหม่ว่า “เบญจภาคี” ราวต้นทศวรรษ 2490

    สำหรับการเลือกพระพิมพ์ 5 สกุลนี้มาเป็น “เพชรในเรือนมงกุฎ” นั้น ตรียัมปวายให้เหตุผลว่า เพราะมีความโดดเด่นด้านพุทธคุณ ด้านพุทธศิลป์ มีประวัติการสร้างหรือจารึกที่สืบค้นได้

    เนื่องจากในยุคนั้น ยังไม่เคยมีหลักยึดในการเล่นหาสะสมซื้อขขายอย่างหนึ่งอย่างใดเลย หลักการนี้ จึงเป็นหลักการแรก ในแง่ความนิยม ซึ่งยึดถือ และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน







    ในวงการเซียนพระทราบกันดีว่า จะไม่มี “พระเบญจภาคี” ได้เลย หากปราศจากบุคคลที่ชื่อ “ตรียัมปวาย” อันเป็นนามปากกาของปรมาจารย์ด้านพระเครื่องผู้มีชื่อเสียงโด่งดังระหว่างช่วงทศวรรษ 2490-2520 และเป็นแบบแผน และหลักยึดของเซียนพระต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเขาผู้นี้เอง เป็นผู้รวบรวมพระพิมพ์รุ่นเด่นๆ 5 สกุลมาบัญญัตินามเฉพาะขึ้นว่า “พระเบญจภาคี” นามจริงของตรียัมปวายคือ พันเอกพิเศษผจญ กิตติประวัติ ท่านเป็นคนเขียนบทความในหนังสือชุด “ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่อง” โดยใช้นามปากกาว่า ตรียัมปวาย อันมาจากพิธีโล้ชิงช้า ที่สิ้นสุดไปในปี พศ 2478 พุทธคุณพระเครื่อง ความนิยมของพระเครื่องเริ่มต้นขึ้นช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พศ.2485) อันเป็นยุคที่ทั่วทุกหัวระแหงผู้คนอดอยากยากแค้น และหวาดระแวง เรื่องความปลอดภัยในชีวิต ผู้คนจึงต่างเสาะแสวงหาของดีมาคุ้มครองป้องกัน และเมื่อมีความนิยม มีราคาซื้อขาย อาชีพใหม่ก็เกิดขึ้น การลักลอบขุดกรุขโมยพระเครื่องมาขายผู้ดีบางกอกเพื่อประทังชีพ ความกลัวของผู้คน รวมถึงชายชาติทหารที่ต้องถูกเกณฑ์ไปออกรบ ก็จำเป็นต้องหาเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ความหมายแห่งเบญจภาคี ตอนแรกตรียัมปวายเคยกำหนดว่าบรรดาพระเครื่องที่โดดเด่นในสยามนั้น ที่สุดของที่สุดมีแค่ 3 พิมพ์ทรง ได้แก่ พระสมเด็จวัดระฆัง พระนางพญาพิษณุโลก และพระรอดลำพูน รวมเรียกว่า “ไตรภาค” หรือ “ไตรภาคี” แต่แล้วจากนั้นไม่นานก็เพิ่มมาอีก 2 สกุลคือ พระซุ้มกอกำแพงเพชร กับพระผงสุพรรณ บัญญัตินามใหม่ว่า “เบญจภาคี” ราวต้นทศวรรษ 2490 สำหรับการเลือกพระพิมพ์ 5 สกุลนี้มาเป็น “เพชรในเรือนมงกุฎ” นั้น ตรียัมปวายให้เหตุผลว่า เพราะมีความโดดเด่นด้านพุทธคุณ ด้านพุทธศิลป์ มีประวัติการสร้างหรือจารึกที่สืบค้นได้ เนื่องจากในยุคนั้น ยังไม่เคยมีหลักยึดในการเล่นหาสะสมซื้อขขายอย่างหนึ่งอย่างใดเลย หลักการนี้ จึงเป็นหลักการแรก ในแง่ความนิยม ซึ่งยึดถือ และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
    0 Comments 0 Shares 249 Views 0 Reviews