อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช เป็นทุกข์ในอริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 172
ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
เนื้อความทั้งหมด :-
--วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ?
ห้าอย่างคือ
พืชจากเหง้า (มูลพีช ),
พืชจากต้น (ขนฺธพีช),
พืชจากตา (ผลุพีช),
พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ
พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น)
เป็นคำรบห้า (พีชพีช).
+--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
แต่ดิน น้ำ ไม่มี.
+--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
+--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !”
+--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.
+--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
+--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย
--ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ
พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม)
พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
--ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า
“เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์
ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร”
ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107.
http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗.
http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172
สัทธรรมลำดับที่ : 173
ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
--ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ
ของวิญญาณทางตา
วิญญาณทางหู
วิญญาณทางจมูก
วิญญาณทางลิ้น
วิญญาณทางกาย และ
วิญญาณทางใจ
ใด ๆ นั่นเท่ากับ
เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์,
เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ
เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483.
http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173
สัทธรรมลำดับที่ : 174
ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ;
วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ
การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ,
อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123.
http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174
สัทธรรมลำดับที่ : 175
ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
เนื้อความทั้งหมด :-
--วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ
วิญญาณทางตา,
วิญญาณทางหู,
วิญญาณทางจมูก,
วิญญาณทางลิ้น,
วิญญาณทางกาย, และ
วิญญาณทางใจ.
-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ;
ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117.
http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 172
ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
เนื้อความทั้งหมด :-
--วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ?
ห้าอย่างคือ
พืชจากเหง้า (มูลพีช ),
พืชจากต้น (ขนฺธพีช),
พืชจากตา (ผลุพีช),
พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ
พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น)
เป็นคำรบห้า (พีชพีช).
+--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
แต่ดิน น้ำ ไม่มี.
+--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
+--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !”
+--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.
+--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
+--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย
--ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ
พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม)
พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
--ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า
“เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์
ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร”
ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107.
http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗.
http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172
สัทธรรมลำดับที่ : 173
ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
--ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ
ของวิญญาณทางตา
วิญญาณทางหู
วิญญาณทางจมูก
วิญญาณทางลิ้น
วิญญาณทางกาย และ
วิญญาณทางใจ
ใด ๆ นั่นเท่ากับ
เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์,
เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ
เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483.
http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173
สัทธรรมลำดับที่ : 174
ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ;
วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ
การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ,
อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123.
http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174
สัทธรรมลำดับที่ : 175
ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
เนื้อความทั้งหมด :-
--วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ
วิญญาณทางตา,
วิญญาณทางหู,
วิญญาณทางจมูก,
วิญญาณทางลิ้น,
วิญญาณทางกาย, และ
วิญญาณทางใจ.
-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ;
ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117.
http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
อริยสาวกพึงศึกษาวิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช เป็นทุกข์ในอริยสัจ
สัทธรรมลำดับที่ : 172
ชื่อบทธรรม :- วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
เนื้อความทั้งหมด :-
--วิญญาณเมื่อทำหน้าที่เป็นพืช
--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมีห้าอย่างเหล่านี้. ห้าอย่างเหล่าไหนเล่า ?
ห้าอย่างคือ
พืชจากเหง้า (มูลพีช ),
พืชจากต้น (ขนฺธพีช),
พืชจากตา (ผลุพีช),
พืชจากยอด (อคฺคพีช), และ
พืชจากเมล็ด (เช่นข้าวเป็นต้น)
เป็นคำรบห้า (พีชพีช).
+--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
แต่ดิน น้ำ ไม่มี.
+--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
+--“หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !”
+--ภิกษุ ท. ! ถ้าสิ่งที่ใช้เป็นพืชห้าอย่างเหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี,
ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.
+--ภิกษุ ท. ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ห้าอย่างเหล่านั้นจะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
+--“อย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณฐิติ สี่อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
พึงเห็นว่าเหมือนกับ ดิน.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณฏฺฐิติโย
--ภิกษุ ท. ! นันทิราคะ
พึงเห็นว่าเหมือนกับ น้ำ.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=นนฺทิราโค
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย (คือกรรม)
พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้งห้านั้น.
-http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=วิญฺญาณ
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา รูป ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความ เจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา เวทนา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถือความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สัญญา ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ;
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอา สังขาร ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้,
เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย
มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้.
--ภิกษุ ท. ! ผู้ใด จะพึงกล่าวอย่างนี้ ว่า
“เราจักบัญญัติ ซึ่ง การมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลย์
ของวิญญาณ โดย เว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร”
ดังนี้นั้น, นี่ ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/54/106-107.
http://etipitaka.com/read/thai/17/54/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๗/๑๐๖-๑๐๗.
http://etipitaka.com/read/pali/17/67/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90%E0%B9%96
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=172
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=172
สัทธรรมลำดับที่ : 173
ชื่อบทธรรม : -การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
เนื้อความทั้งหมด :-
--การเกิดของวิญญาณเท่ากับการเกิดของทุกข์
--ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง และความปรากฏ
ของวิญญาณทางตา
วิญญาณทางหู
วิญญาณทางจมูก
วิญญาณทางลิ้น
วิญญาณทางกาย และ
วิญญาณทางใจ
ใด ๆ นั่นเท่ากับ
เป็นการเกิดขึ้น ของทุกข์,
เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปกติเสียดแทงทั้งหลาย, และ
เป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/253/483.
http://etipitaka.com/read/thai/17/253/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%98%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๔/๔๘๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=173
สัทธรรมลำดับที่ : 174
ชื่อบทธรรม : -ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
เนื้อความทั้งหมด :-
--ข้อควรกำหนดเกี่ยวกับ วิญญาณ
--ภิกษุ ท. ! สุขโสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย วิญญาณ แล้วเกิดขึ้น,
สุขโสมนัสนี้แล เป็น รสอร่อย (อัสสาทะ) ของวิญญาณ ;
วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ด้วยอาการใด ๆ,
อาการนี้แล เป็น โทษ (อาทีนพ) ของวิญญาณ ;
การนำออกเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ
การละเสียได้ ซึ่งความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในวิญญาณ ด้วยอุบายใด ๆ,
อุบายนี้แล เป็น เครื่องออกพ้นไปได้ (นิสสรณะ) จากวิญญาณ.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/63/123.
http://etipitaka.com/read/thai/17/63/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๐/๑๒๓.
http://etipitaka.com/read/pali/17/80/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%92%E0%B9%93
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=174
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=174
สัทธรรมลำดับที่ : 175
ชื่อบทธรรม : -วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
เนื้อความทั้งหมด :-
--วิญญาณขันธ์โดยนัยแห่งอริยสัจสี่
--ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหกเหล่านี้คือ
วิญญาณทางตา,
วิญญาณทางหู,
วิญญาณทางจมูก,
วิญญาณทางลิ้น,
วิญญาณทางกาย, และ
วิญญาณทางใจ.
-ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #วิญญาณ.
ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ;
ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ;
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ, ได้แก่
ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. 17/60/117.
http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ธนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=175
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=175
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
54 มุมมอง
0 รีวิว