มารู้จักตัวนี้กัน อยุใน P กับ A
⏩เชื้อทริพาโนโซมา (Trypanosoma) เป็นโปรโตซัวที่มีหางยาวช่วยในการเคลื่อนที่
👉อาศัยอยู่ในเลือดและภายในเซลล์ของคนและสัตว์ มีหลายสายพันธุ์ และมีแมลงเป็นพาหะนำโรค
📌นาน ๆ ครั้งจะพบผู้ติดเชื้อจากการรับเลือด, การปลูกถ่ายอวัยวะ, และทางมารดาสู่ทารก
📌เพราะเชื้อทริพาโนโซมาอาศัยอยู่ในเลือด และสามารถผ่านรกไปสู่ทารกในครรภ์ได้ ทารกที่ติดเชื้อแต่กำเนิดมักแท้งหรือเสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก
💢อาการแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
✅ระยะที่หนึ่ง
📌มีต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงบวมโตอักเสบ แผลจะค่อย ๆ ดีขึ้นเองในเวลาหลายสัปดาห์ ถ้าเป็นเชื้อ T. b. gambiense จะไม่ค่อยพบแผลแบบนี้
📌หลังรับเชื้อจะเข้าสู่กระแสโลหิต ทำให้มีไข้สูงเป็น ๆ หาย ๆ คล้ายไข้มาลาเรีย
⏩ระยะนี้ผู้ป่วยจะอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดตามข้อ เหงื่อออกมากกว่าปกติ ซีด และต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไปโดยเฉพาะบริเวณคอ (posterior cervical glands) เรียกว่า Winter-bottom's sign
⏩บางรายอาจมีผื่นแดงจาง ๆ ที่ผิวหนังนานเป็นเดือน ถ้าเจาะเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
📌ระยะนี้ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ ❗️กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis)
และ ❗️หน่วยไตอักเสบ (glomerulonephritis)
✅ระยะที่สอง เชื้อจะเข้าสู่สมอง
👉ผู้ป่วยจะปวดศีรษะตลอดเวลา ทานยาอะไรก็ไม่หาย
⏩กลางคืนนอนไม่หลับ แต่เซื่องซึม ง่วงเหงาหาวนอนตอนกลางวัน จึงเป็นที่มาของชื่อโรคว่า Sleeping sickness 📌หรือโรคเหงาหลับ
💢ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมเปลี่ยน อารมณ์แปรปรวน บางรายอาจวุ่นวายสับสน บางรายอาจซึมเศร้า เบื่ออาหาร ผอมลง ม้ามโต
📌ในเด็กมักพบมี "ชัก"
ในระยะท้ายสมองจะบวม มีจุดเลือดออกในเนื้อสมอง
📌พบเซลล์อักเสบทั่วไปในชั้นเยื่อหุ้มสมอง ประสาทรับสัมผัสจะเสียไป การเดินและทรงตัวผิดปกติ หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิต
http://mutualselfcare.org/.../inf.../trypanosomiasis.aspx...
เครดิต เฟสบุ๊ก ภูสณิตา วิเศษปุณรัตน์
⏩เชื้อทริพาโนโซมา (Trypanosoma) เป็นโปรโตซัวที่มีหางยาวช่วยในการเคลื่อนที่
👉อาศัยอยู่ในเลือดและภายในเซลล์ของคนและสัตว์ มีหลายสายพันธุ์ และมีแมลงเป็นพาหะนำโรค
📌นาน ๆ ครั้งจะพบผู้ติดเชื้อจากการรับเลือด, การปลูกถ่ายอวัยวะ, และทางมารดาสู่ทารก
📌เพราะเชื้อทริพาโนโซมาอาศัยอยู่ในเลือด และสามารถผ่านรกไปสู่ทารกในครรภ์ได้ ทารกที่ติดเชื้อแต่กำเนิดมักแท้งหรือเสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก
💢อาการแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
✅ระยะที่หนึ่ง
📌มีต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงบวมโตอักเสบ แผลจะค่อย ๆ ดีขึ้นเองในเวลาหลายสัปดาห์ ถ้าเป็นเชื้อ T. b. gambiense จะไม่ค่อยพบแผลแบบนี้
📌หลังรับเชื้อจะเข้าสู่กระแสโลหิต ทำให้มีไข้สูงเป็น ๆ หาย ๆ คล้ายไข้มาลาเรีย
⏩ระยะนี้ผู้ป่วยจะอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดตามข้อ เหงื่อออกมากกว่าปกติ ซีด และต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไปโดยเฉพาะบริเวณคอ (posterior cervical glands) เรียกว่า Winter-bottom's sign
⏩บางรายอาจมีผื่นแดงจาง ๆ ที่ผิวหนังนานเป็นเดือน ถ้าเจาะเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
📌ระยะนี้ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ ❗️กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis)
และ ❗️หน่วยไตอักเสบ (glomerulonephritis)
✅ระยะที่สอง เชื้อจะเข้าสู่สมอง
👉ผู้ป่วยจะปวดศีรษะตลอดเวลา ทานยาอะไรก็ไม่หาย
⏩กลางคืนนอนไม่หลับ แต่เซื่องซึม ง่วงเหงาหาวนอนตอนกลางวัน จึงเป็นที่มาของชื่อโรคว่า Sleeping sickness 📌หรือโรคเหงาหลับ
💢ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมเปลี่ยน อารมณ์แปรปรวน บางรายอาจวุ่นวายสับสน บางรายอาจซึมเศร้า เบื่ออาหาร ผอมลง ม้ามโต
📌ในเด็กมักพบมี "ชัก"
ในระยะท้ายสมองจะบวม มีจุดเลือดออกในเนื้อสมอง
📌พบเซลล์อักเสบทั่วไปในชั้นเยื่อหุ้มสมอง ประสาทรับสัมผัสจะเสียไป การเดินและทรงตัวผิดปกติ หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิต
http://mutualselfcare.org/.../inf.../trypanosomiasis.aspx...
เครดิต เฟสบุ๊ก ภูสณิตา วิเศษปุณรัตน์
มารู้จักตัวนี้กัน อยุใน P กับ A
⏩เชื้อทริพาโนโซมา (Trypanosoma) เป็นโปรโตซัวที่มีหางยาวช่วยในการเคลื่อนที่
👉อาศัยอยู่ในเลือดและภายในเซลล์ของคนและสัตว์ มีหลายสายพันธุ์ และมีแมลงเป็นพาหะนำโรค
📌นาน ๆ ครั้งจะพบผู้ติดเชื้อจากการรับเลือด, การปลูกถ่ายอวัยวะ, และทางมารดาสู่ทารก
📌เพราะเชื้อทริพาโนโซมาอาศัยอยู่ในเลือด และสามารถผ่านรกไปสู่ทารกในครรภ์ได้ ทารกที่ติดเชื้อแต่กำเนิดมักแท้งหรือเสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก
💢อาการแบ่งได้เป็น 2 ระยะ
✅ระยะที่หนึ่ง
📌มีต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียงบวมโตอักเสบ แผลจะค่อย ๆ ดีขึ้นเองในเวลาหลายสัปดาห์ ถ้าเป็นเชื้อ T. b. gambiense จะไม่ค่อยพบแผลแบบนี้
📌หลังรับเชื้อจะเข้าสู่กระแสโลหิต ทำให้มีไข้สูงเป็น ๆ หาย ๆ คล้ายไข้มาลาเรีย
⏩ระยะนี้ผู้ป่วยจะอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดตามข้อ เหงื่อออกมากกว่าปกติ ซีด และต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไปโดยเฉพาะบริเวณคอ (posterior cervical glands) เรียกว่า Winter-bottom's sign
⏩บางรายอาจมีผื่นแดงจาง ๆ ที่ผิวหนังนานเป็นเดือน ถ้าเจาะเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ำ
📌ระยะนี้ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ ❗️กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis)
และ ❗️หน่วยไตอักเสบ (glomerulonephritis)
✅ระยะที่สอง เชื้อจะเข้าสู่สมอง
👉ผู้ป่วยจะปวดศีรษะตลอดเวลา ทานยาอะไรก็ไม่หาย
⏩กลางคืนนอนไม่หลับ แต่เซื่องซึม ง่วงเหงาหาวนอนตอนกลางวัน จึงเป็นที่มาของชื่อโรคว่า Sleeping sickness 📌หรือโรคเหงาหลับ
💢ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมเปลี่ยน อารมณ์แปรปรวน บางรายอาจวุ่นวายสับสน บางรายอาจซึมเศร้า เบื่ออาหาร ผอมลง ม้ามโต
📌ในเด็กมักพบมี "ชัก"
ในระยะท้ายสมองจะบวม มีจุดเลือดออกในเนื้อสมอง
📌พบเซลล์อักเสบทั่วไปในชั้นเยื่อหุ้มสมอง ประสาทรับสัมผัสจะเสียไป การเดินและทรงตัวผิดปกติ หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิต
http://mutualselfcare.org/.../inf.../trypanosomiasis.aspx...
เครดิต เฟสบุ๊ก ภูสณิตา วิเศษปุณรัตน์