เดี๋ยวนี้จะทำอะไรต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษ โดยเฉพาะในเรื่องของสื่อสังคมออนไลน์ การจะโพสต์ข้อความรวมถึงการแสดงความคิดเห็นก็ต้องใช้วิจารณญาณเพิ่มมากขึ้น ยิ่งตอนนี้เรามี พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ที่มีบทลงโทษของการกระทำผิด ที่ทุกคนควรรู้ และคิดให้ถี่ถ้วนก่อนค่อยแชร์โพสต์รวมทั้งแสดงความคิดเห็น มีอะไรบ้าง วันนี้ นายTechTips จะบอกให้ฟังครับ
การกดไลก์ (Like)
หลายคนอาจสงสัยว่า กด Like ก็ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความจริงแล้วการกด Like ไม่ถือเป็นความผิด นอกเสียจากว่า ไปกด Like ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่ผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจจะเข้าข่ายความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดแชร์ (Share)
การกด Share ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดไลก์ (Like)
หลายคนอาจสงสัยว่า กด Like ก็ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความจริงแล้วการกด Like ไม่ถือเป็นความผิด นอกเสียจากว่า ไปกด Like ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่ผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดแชร์ (Share)
การกด Share ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112
การเป็นแอดมินเพจ
หน้าที่ของแอดมินเพจต่าง ๆ คือต้องสอดส่องดูแลความเรียบร้อย ตลอดจน monitor ความคิดเห็นของลูกเพจ ไม่ให้ไปในเชิงลบ และขัดต่อกฎหมาย หากลูกเพจแสดงความคิดเห็นที่ผิดต่อกฎหมาย แอดมินมีหน้าที่ลบจากพื้นที่ หากไม่ลบหรือซ่อนข้อความนั้นจะถือว่ามีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เช่นกัน ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิดมาตรา 14 โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การโพสต์สิ่งลามกอนาจาร
เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่า สิ่งลามกอนาจารไม่ควรโพสต์ หรือเผยแพร่ด้วยประการทั้งปวง ถือเป็นสิ่งผิดกฎหมายและไม่ควรกระทำ และเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิดมาตรา 14 โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การโพสต์รูปเกี่ยวกับเด็ก
การโพสต์รูปเด็กหรือเยาวชน โดยไม่ได้รับความยิมยอมหรือไม่ได้ขออนุญาต ต้องมีการปิดบังหน้า นอกจากจะเป็นการยกย่อง เชิดชู ความดีงาม ถึงจะสามารถกระทำการโพสต์ได้ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด มาตรา 14 (1) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งมีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ข้อมูลผู้เสียชีวิต
ห้ามโพสต์ภาพผู้ที่เสียชีวิต รวมไปถึงให้ข้อมูลเรื่องการเสียชีวิต ยิ่งเป็นโพสต์ดูหมิ่น หรือแสดงความเกลียดชัง ไม่ว่าจะเป็นญาติ คนสนิท หรือแม้แต่บุคคลที่มีชื่อเสียง หากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น
การด่าทอผู้อื่นซึ่งหน้าก็ถือว่าเป็นความผิดแล้ว แต่หากโพสต์ด่าว่าผู้อื่นโดยข้อมูลนั้นเป็นเท็จ ก็มีโทษ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท ฉะนั้นควรสะกดกลั้นอารมณ์แล้วอย่าไปลงกับสื่อโซเชียล มิเช่นนั้นอาจโดนทั้งจำ ทั้งปรับนะครับ
การละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น
การจะเอาอะไรของใครไปใช้ ต้องมีการขออนุญาตและให้เครดิตก่อนทุกครั้ง เพื่อไม่ให้เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น เช่นเดียวกับโลกออนไลน์ การจะโพสต์ Quote ข้อความ เพลง รูปภาพ วิดีโอใด ๆ ต้องบอกแหล่งที่มา ให้เครดิต หรือขออนุญาติเจ้าของก่อน มิฉะนั้นหากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีความผิด มีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การส่งรูปภาพ
หากเป็นการส่งให้เพื่อน หรือญาติสนิทมิตรสหายดู อาจเพื่อความบันเทิง หรือเพื่อเป็นความรู้สามารถส่งรูปภาพได้ แต่หากเป็นการแชร์ภาพ หรือนำรูปภาพไปใช้เพื่อการพาณิชย์ หรือสร้างรายได้ ต้องขออนุญาตและทำให้ถูกต้องก่อน มิฉะนั้นอาจมีความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด มาตรา 14 (1) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งมีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การฝากร้าน
ก่อนจะมีบทลงโทษที่ชัดเจนออกมา เราได้เห็นการฝากร้านใต้โพสต์ของผู้มีชื่อเสียง และดารามากมาย แต่ตอนนี้ไม่สามารถทำได้แล้ว หากไม่ได้รับอนุญาต เพราะการฝากร้านในโซเชียลมีเดีย ถือเป็นสแปมและรบกวนผู้อื่น มีโทษปรับสูงสุด 200,000 บาท ฉะนั้นต้องตรวจสอบให้ดีก่อนค่อยฝากร้านนะครับ
การส่งอีเมล (Email) ขายของ
การส่ง Email เพื่อขายของโดยที่เจ้าของ Email ไม่ได้ให้ความยินยอม ถือเป็นความผิดนะครับ นอกจากจะมีการลงทะเบียน Subscribe อย่างถูกต้องแล้ว ส่งเป็นจดหมายข่าว หรือโปรโมชันให้ แบบนี้สามารถทำได้ หากพบว่าเข้าลักษณะเป็นความผิด มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท จำคุกไม่เกิน 2 ปี
การส่งข้อความ (SMS) โฆษณา
หลายคนน่าจะเคยได้รับข้อความ SMS โฆษณาจากแบรนด์ต่าง ๆ ซึ่งต้องได้รับความยินยอมให้รับข่าวสาร โฆษณาจากเจ้าของหมายเลขโทรศัพท์ ก่อนถึงจะกระทำได้ มิฉะนั้นอาจถือว่ามีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และอาจถือว่าเป็นสแปม ปรับสูงสุด 200,000 บาท
พบข้อมูลผิดกฎหมาย
กรณีพบว่ามีการแสดงความคิดเห็นที่ผิดกฎหมาย เช่น แสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ในระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา จากบุคคลอื่นทำไว้ ที่ไม่ใช่เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ เราสามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ เมื่อแจ้งแล้ว ลบข้อมูลดังกล่าวออก เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่มีความผิด
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์หลัก ๆ เพื่อควบคุม ผู้ที่ชอบก่อกวนหรือเหล่านักเลงคีย์บอร์ดทั้งหลาย ฉะนั้นไม่จำเป็นต้องหวาดระแวงหรือหวาดกลัว จนไม่กล้าโพสต์ภาพหรือข้อความปกตินะครับ ยังสามารถทำได้ เพียงแต่ต้องใช้วิจารณญาณเพิ่มขึ้นเท่านั้นเอง
มีอะไรอยากถามก็คอมเม้นถามกันมาได้เลยนะครับผม
รับรองว่าจะหาคำตอบมาให้เเน่นอนครับ
#TechTips
การกดไลก์ (Like)
หลายคนอาจสงสัยว่า กด Like ก็ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความจริงแล้วการกด Like ไม่ถือเป็นความผิด นอกเสียจากว่า ไปกด Like ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่ผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจจะเข้าข่ายความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดแชร์ (Share)
การกด Share ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดไลก์ (Like)
หลายคนอาจสงสัยว่า กด Like ก็ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความจริงแล้วการกด Like ไม่ถือเป็นความผิด นอกเสียจากว่า ไปกด Like ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่ผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดแชร์ (Share)
การกด Share ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112
การเป็นแอดมินเพจ
หน้าที่ของแอดมินเพจต่าง ๆ คือต้องสอดส่องดูแลความเรียบร้อย ตลอดจน monitor ความคิดเห็นของลูกเพจ ไม่ให้ไปในเชิงลบ และขัดต่อกฎหมาย หากลูกเพจแสดงความคิดเห็นที่ผิดต่อกฎหมาย แอดมินมีหน้าที่ลบจากพื้นที่ หากไม่ลบหรือซ่อนข้อความนั้นจะถือว่ามีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เช่นกัน ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิดมาตรา 14 โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การโพสต์สิ่งลามกอนาจาร
เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่า สิ่งลามกอนาจารไม่ควรโพสต์ หรือเผยแพร่ด้วยประการทั้งปวง ถือเป็นสิ่งผิดกฎหมายและไม่ควรกระทำ และเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิดมาตรา 14 โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การโพสต์รูปเกี่ยวกับเด็ก
การโพสต์รูปเด็กหรือเยาวชน โดยไม่ได้รับความยิมยอมหรือไม่ได้ขออนุญาต ต้องมีการปิดบังหน้า นอกจากจะเป็นการยกย่อง เชิดชู ความดีงาม ถึงจะสามารถกระทำการโพสต์ได้ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด มาตรา 14 (1) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งมีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ข้อมูลผู้เสียชีวิต
ห้ามโพสต์ภาพผู้ที่เสียชีวิต รวมไปถึงให้ข้อมูลเรื่องการเสียชีวิต ยิ่งเป็นโพสต์ดูหมิ่น หรือแสดงความเกลียดชัง ไม่ว่าจะเป็นญาติ คนสนิท หรือแม้แต่บุคคลที่มีชื่อเสียง หากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น
การด่าทอผู้อื่นซึ่งหน้าก็ถือว่าเป็นความผิดแล้ว แต่หากโพสต์ด่าว่าผู้อื่นโดยข้อมูลนั้นเป็นเท็จ ก็มีโทษ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท ฉะนั้นควรสะกดกลั้นอารมณ์แล้วอย่าไปลงกับสื่อโซเชียล มิเช่นนั้นอาจโดนทั้งจำ ทั้งปรับนะครับ
การละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น
การจะเอาอะไรของใครไปใช้ ต้องมีการขออนุญาตและให้เครดิตก่อนทุกครั้ง เพื่อไม่ให้เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น เช่นเดียวกับโลกออนไลน์ การจะโพสต์ Quote ข้อความ เพลง รูปภาพ วิดีโอใด ๆ ต้องบอกแหล่งที่มา ให้เครดิต หรือขออนุญาติเจ้าของก่อน มิฉะนั้นหากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีความผิด มีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การส่งรูปภาพ
หากเป็นการส่งให้เพื่อน หรือญาติสนิทมิตรสหายดู อาจเพื่อความบันเทิง หรือเพื่อเป็นความรู้สามารถส่งรูปภาพได้ แต่หากเป็นการแชร์ภาพ หรือนำรูปภาพไปใช้เพื่อการพาณิชย์ หรือสร้างรายได้ ต้องขออนุญาตและทำให้ถูกต้องก่อน มิฉะนั้นอาจมีความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด มาตรา 14 (1) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งมีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การฝากร้าน
ก่อนจะมีบทลงโทษที่ชัดเจนออกมา เราได้เห็นการฝากร้านใต้โพสต์ของผู้มีชื่อเสียง และดารามากมาย แต่ตอนนี้ไม่สามารถทำได้แล้ว หากไม่ได้รับอนุญาต เพราะการฝากร้านในโซเชียลมีเดีย ถือเป็นสแปมและรบกวนผู้อื่น มีโทษปรับสูงสุด 200,000 บาท ฉะนั้นต้องตรวจสอบให้ดีก่อนค่อยฝากร้านนะครับ
การส่งอีเมล (Email) ขายของ
การส่ง Email เพื่อขายของโดยที่เจ้าของ Email ไม่ได้ให้ความยินยอม ถือเป็นความผิดนะครับ นอกจากจะมีการลงทะเบียน Subscribe อย่างถูกต้องแล้ว ส่งเป็นจดหมายข่าว หรือโปรโมชันให้ แบบนี้สามารถทำได้ หากพบว่าเข้าลักษณะเป็นความผิด มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท จำคุกไม่เกิน 2 ปี
การส่งข้อความ (SMS) โฆษณา
หลายคนน่าจะเคยได้รับข้อความ SMS โฆษณาจากแบรนด์ต่าง ๆ ซึ่งต้องได้รับความยินยอมให้รับข่าวสาร โฆษณาจากเจ้าของหมายเลขโทรศัพท์ ก่อนถึงจะกระทำได้ มิฉะนั้นอาจถือว่ามีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และอาจถือว่าเป็นสแปม ปรับสูงสุด 200,000 บาท
พบข้อมูลผิดกฎหมาย
กรณีพบว่ามีการแสดงความคิดเห็นที่ผิดกฎหมาย เช่น แสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ในระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา จากบุคคลอื่นทำไว้ ที่ไม่ใช่เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ เราสามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ เมื่อแจ้งแล้ว ลบข้อมูลดังกล่าวออก เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่มีความผิด
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์หลัก ๆ เพื่อควบคุม ผู้ที่ชอบก่อกวนหรือเหล่านักเลงคีย์บอร์ดทั้งหลาย ฉะนั้นไม่จำเป็นต้องหวาดระแวงหรือหวาดกลัว จนไม่กล้าโพสต์ภาพหรือข้อความปกตินะครับ ยังสามารถทำได้ เพียงแต่ต้องใช้วิจารณญาณเพิ่มขึ้นเท่านั้นเอง
มีอะไรอยากถามก็คอมเม้นถามกันมาได้เลยนะครับผม
รับรองว่าจะหาคำตอบมาให้เเน่นอนครับ
#TechTips
เดี๋ยวนี้จะทำอะไรต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษ โดยเฉพาะในเรื่องของสื่อสังคมออนไลน์ การจะโพสต์ข้อความรวมถึงการแสดงความคิดเห็นก็ต้องใช้วิจารณญาณเพิ่มมากขึ้น ยิ่งตอนนี้เรามี พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ที่มีบทลงโทษของการกระทำผิด ที่ทุกคนควรรู้ และคิดให้ถี่ถ้วนก่อนค่อยแชร์โพสต์รวมทั้งแสดงความคิดเห็น มีอะไรบ้าง วันนี้ นายTechTips จะบอกให้ฟังครับ
การกดไลก์ (Like)
หลายคนอาจสงสัยว่า กด Like ก็ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความจริงแล้วการกด Like ไม่ถือเป็นความผิด นอกเสียจากว่า ไปกด Like ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่ผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจจะเข้าข่ายความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดแชร์ (Share)
การกด Share ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่มีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดไลก์ (Like)
หลายคนอาจสงสัยว่า กด Like ก็ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความจริงแล้วการกด Like ไม่ถือเป็นความผิด นอกเสียจากว่า ไปกด Like ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่ผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3-15 ปี
การกดแชร์ (Share)
การกด Share ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ไม่เป็นความจริง หลอกลวง ที่อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ประชาชน ความมั่นคงของประเทศได้ เช่น ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อสังคม ความมั่นคงของชาติ และหากเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112
การเป็นแอดมินเพจ
หน้าที่ของแอดมินเพจต่าง ๆ คือต้องสอดส่องดูแลความเรียบร้อย ตลอดจน monitor ความคิดเห็นของลูกเพจ ไม่ให้ไปในเชิงลบ และขัดต่อกฎหมาย หากลูกเพจแสดงความคิดเห็นที่ผิดต่อกฎหมาย แอดมินมีหน้าที่ลบจากพื้นที่ หากไม่ลบหรือซ่อนข้อความนั้นจะถือว่ามีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เช่นกัน ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิดมาตรา 14 โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การโพสต์สิ่งลามกอนาจาร
เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่า สิ่งลามกอนาจารไม่ควรโพสต์ หรือเผยแพร่ด้วยประการทั้งปวง ถือเป็นสิ่งผิดกฎหมายและไม่ควรกระทำ และเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิดมาตรา 14 โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การโพสต์รูปเกี่ยวกับเด็ก
การโพสต์รูปเด็กหรือเยาวชน โดยไม่ได้รับความยิมยอมหรือไม่ได้ขออนุญาต ต้องมีการปิดบังหน้า นอกจากจะเป็นการยกย่อง เชิดชู ความดีงาม ถึงจะสามารถกระทำการโพสต์ได้ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด มาตรา 14 (1) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งมีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ข้อมูลผู้เสียชีวิต
ห้ามโพสต์ภาพผู้ที่เสียชีวิต รวมไปถึงให้ข้อมูลเรื่องการเสียชีวิต ยิ่งเป็นโพสต์ดูหมิ่น หรือแสดงความเกลียดชัง ไม่ว่าจะเป็นญาติ คนสนิท หรือแม้แต่บุคคลที่มีชื่อเสียง หากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น
การด่าทอผู้อื่นซึ่งหน้าก็ถือว่าเป็นความผิดแล้ว แต่หากโพสต์ด่าว่าผู้อื่นโดยข้อมูลนั้นเป็นเท็จ ก็มีโทษ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท ฉะนั้นควรสะกดกลั้นอารมณ์แล้วอย่าไปลงกับสื่อโซเชียล มิเช่นนั้นอาจโดนทั้งจำ ทั้งปรับนะครับ
การละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น
การจะเอาอะไรของใครไปใช้ ต้องมีการขออนุญาตและให้เครดิตก่อนทุกครั้ง เพื่อไม่ให้เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น เช่นเดียวกับโลกออนไลน์ การจะโพสต์ Quote ข้อความ เพลง รูปภาพ วิดีโอใด ๆ ต้องบอกแหล่งที่มา ให้เครดิต หรือขออนุญาติเจ้าของก่อน มิฉะนั้นหากเข้าลักษณะเป็นความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีความผิด มีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การส่งรูปภาพ
หากเป็นการส่งให้เพื่อน หรือญาติสนิทมิตรสหายดู อาจเพื่อความบันเทิง หรือเพื่อเป็นความรู้สามารถส่งรูปภาพได้ แต่หากเป็นการแชร์ภาพ หรือนำรูปภาพไปใช้เพื่อการพาณิชย์ หรือสร้างรายได้ ต้องขออนุญาตและทำให้ถูกต้องก่อน มิฉะนั้นอาจมีความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ หากเข้าลักษณะเป็นความผิด มาตรา 14 (1) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งมีโทษจำคุกสูงถึง 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
การฝากร้าน
ก่อนจะมีบทลงโทษที่ชัดเจนออกมา เราได้เห็นการฝากร้านใต้โพสต์ของผู้มีชื่อเสียง และดารามากมาย แต่ตอนนี้ไม่สามารถทำได้แล้ว หากไม่ได้รับอนุญาต เพราะการฝากร้านในโซเชียลมีเดีย ถือเป็นสแปมและรบกวนผู้อื่น มีโทษปรับสูงสุด 200,000 บาท ฉะนั้นต้องตรวจสอบให้ดีก่อนค่อยฝากร้านนะครับ
การส่งอีเมล (Email) ขายของ
การส่ง Email เพื่อขายของโดยที่เจ้าของ Email ไม่ได้ให้ความยินยอม ถือเป็นความผิดนะครับ นอกจากจะมีการลงทะเบียน Subscribe อย่างถูกต้องแล้ว ส่งเป็นจดหมายข่าว หรือโปรโมชันให้ แบบนี้สามารถทำได้ หากพบว่าเข้าลักษณะเป็นความผิด มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท จำคุกไม่เกิน 2 ปี
การส่งข้อความ (SMS) โฆษณา
หลายคนน่าจะเคยได้รับข้อความ SMS โฆษณาจากแบรนด์ต่าง ๆ ซึ่งต้องได้รับความยินยอมให้รับข่าวสาร โฆษณาจากเจ้าของหมายเลขโทรศัพท์ ก่อนถึงจะกระทำได้ มิฉะนั้นอาจถือว่ามีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และอาจถือว่าเป็นสแปม ปรับสูงสุด 200,000 บาท
พบข้อมูลผิดกฎหมาย
กรณีพบว่ามีการแสดงความคิดเห็นที่ผิดกฎหมาย เช่น แสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ในระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา จากบุคคลอื่นทำไว้ ที่ไม่ใช่เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ เราสามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ เมื่อแจ้งแล้ว ลบข้อมูลดังกล่าวออก เจ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่มีความผิด
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มีวัตถุประสงค์หลัก ๆ เพื่อควบคุม ผู้ที่ชอบก่อกวนหรือเหล่านักเลงคีย์บอร์ดทั้งหลาย ฉะนั้นไม่จำเป็นต้องหวาดระแวงหรือหวาดกลัว จนไม่กล้าโพสต์ภาพหรือข้อความปกตินะครับ ยังสามารถทำได้ เพียงแต่ต้องใช้วิจารณญาณเพิ่มขึ้นเท่านั้นเอง
มีอะไรอยากถามก็คอมเม้นถามกันมาได้เลยนะครับผม
รับรองว่าจะหาคำตอบมาให้เเน่นอนครับ
#TechTips
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
513 มุมมอง
0 รีวิว