หากย้อนเวลากลับไปในปี 2556 และปี 2561 สนามบินสุวรรณภูมิเคยเกิดเหตุการณ์เครื่องบินไถลออกนอกทางวิ่งใน2ปีดังกล่าว ทั้งสองเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นกับสายการบินเดียวกันและหมายเลขเที่ยวบินเดียวกันเพียงแต่คนละทางวิ่งเท่านั้น สำหรับเหตุการณ์แรก(ข้อมูลจากรายงานสอบสวนฉบับสุดท้าย (Final Investigation Report) ของคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุของอากาศยานในราชอาณาจักร (กสอ.) - https://ops.mot.go.th/aaic.html?id=9) ระบุว่าสาเหตุเกิดจากคานยึดฐานล้อหลักด้านขวาแตกหัก (ซึ่งเป็นปัจจัยด้าน Aircraft Manufacturer) ทำให้เครื่องบินวิ่งเบนออกจากเส้นกึ่งกลางของทางวิ่งในขณะที่เครื่องลงแตะพื้นมาซักระยะแล้ว โชคดีที่เหตุการณ์นี้ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บสาหัสหรือไม่เกิดเหตุการณ์อะไรที่รุนแรงกว่านี้ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์รุนแรง (Serious Incident) ครั้งนี้ทั้ง Aircraft Manufacturer, Regulator,และ Aircraft Operator ฯลฯ ก็ต้องปฏิบัติตามข้อแนะนำด้านความปลอดภัย (Safety Recommendation) ที่ระบุอยู่ในรายงานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทำนองเดียวกันอีก
ส่วนเหตุการณ์ที่สองจากการหาข้อมูลยังไม่สามารถพบเจอรายงานผลการสอบสวนฉบับสุดท้ายที่จะรายงานรายละเอียดของเหตุการณ์และสาเหตุหรือปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุเกิดจากอะไรมี Safety Recommendation อะไรบ้างในการแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทำนองเดียวกันขึ้นมาอีก (ปัจจุบันพบเห็นรายงานฉบับกลาง หรือ Interim Report เพียงเท่านั้น)
ตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ภาคผนวกที่13 (Annex13-12nd Edition July 2020และ Manual of Aircraft Accident and Incident Investigation: Doc 9756 Part IV-Reporting,3rd Edition 2020) หากมีอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์รุนแรงกับอากาศยาน ประเทศที่เป็นสมาชิกต้องดำเนินการสอบสวนหาเหตุและวิธีป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีกและตีพิมพ์รายงานฉบับสุดท้ายภายในระยะเวลาอันรวดเร็วหรือหากเป็นไปได้ภายใน12เดือนนับจากวันที่เกิดเหตุการณ์นั้น
ทั้งนี้หากมีการเผยแพร่ข้อมูลของรายงานฉบับสุดท้ายแล้วจะมานำเสนอให้ทราบต่อไป
ส่วนเหตุการณ์ที่สองจากการหาข้อมูลยังไม่สามารถพบเจอรายงานผลการสอบสวนฉบับสุดท้ายที่จะรายงานรายละเอียดของเหตุการณ์และสาเหตุหรือปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุเกิดจากอะไรมี Safety Recommendation อะไรบ้างในการแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทำนองเดียวกันขึ้นมาอีก (ปัจจุบันพบเห็นรายงานฉบับกลาง หรือ Interim Report เพียงเท่านั้น)
ตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ภาคผนวกที่13 (Annex13-12nd Edition July 2020และ Manual of Aircraft Accident and Incident Investigation: Doc 9756 Part IV-Reporting,3rd Edition 2020) หากมีอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์รุนแรงกับอากาศยาน ประเทศที่เป็นสมาชิกต้องดำเนินการสอบสวนหาเหตุและวิธีป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีกและตีพิมพ์รายงานฉบับสุดท้ายภายในระยะเวลาอันรวดเร็วหรือหากเป็นไปได้ภายใน12เดือนนับจากวันที่เกิดเหตุการณ์นั้น
ทั้งนี้หากมีการเผยแพร่ข้อมูลของรายงานฉบับสุดท้ายแล้วจะมานำเสนอให้ทราบต่อไป
หากย้อนเวลากลับไปในปี 2556 และปี 2561 สนามบินสุวรรณภูมิเคยเกิดเหตุการณ์เครื่องบินไถลออกนอกทางวิ่งใน2ปีดังกล่าว ทั้งสองเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นกับสายการบินเดียวกันและหมายเลขเที่ยวบินเดียวกันเพียงแต่คนละทางวิ่งเท่านั้น สำหรับเหตุการณ์แรก(ข้อมูลจากรายงานสอบสวนฉบับสุดท้าย (Final Investigation Report) ของคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุของอากาศยานในราชอาณาจักร (กสอ.) - https://ops.mot.go.th/aaic.html?id=9) ระบุว่าสาเหตุเกิดจากคานยึดฐานล้อหลักด้านขวาแตกหัก (ซึ่งเป็นปัจจัยด้าน Aircraft Manufacturer) ทำให้เครื่องบินวิ่งเบนออกจากเส้นกึ่งกลางของทางวิ่งในขณะที่เครื่องลงแตะพื้นมาซักระยะแล้ว โชคดีที่เหตุการณ์นี้ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บสาหัสหรือไม่เกิดเหตุการณ์อะไรที่รุนแรงกว่านี้ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์รุนแรง (Serious Incident) ครั้งนี้ทั้ง Aircraft Manufacturer, Regulator,และ Aircraft Operator ฯลฯ ก็ต้องปฏิบัติตามข้อแนะนำด้านความปลอดภัย (Safety Recommendation) ที่ระบุอยู่ในรายงานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทำนองเดียวกันอีก
ส่วนเหตุการณ์ที่สองจากการหาข้อมูลยังไม่สามารถพบเจอรายงานผลการสอบสวนฉบับสุดท้ายที่จะรายงานรายละเอียดของเหตุการณ์และสาเหตุหรือปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุเกิดจากอะไรมี Safety Recommendation อะไรบ้างในการแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทำนองเดียวกันขึ้นมาอีก (ปัจจุบันพบเห็นรายงานฉบับกลาง หรือ Interim Report เพียงเท่านั้น)
ตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ภาคผนวกที่13 (Annex13-12nd Edition July 2020และ Manual of Aircraft Accident and Incident Investigation: Doc 9756 Part IV-Reporting,3rd Edition 2020) หากมีอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์รุนแรงกับอากาศยาน ประเทศที่เป็นสมาชิกต้องดำเนินการสอบสวนหาเหตุและวิธีป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีกและตีพิมพ์รายงานฉบับสุดท้ายภายในระยะเวลาอันรวดเร็วหรือหากเป็นไปได้ภายใน12เดือนนับจากวันที่เกิดเหตุการณ์นั้น
ทั้งนี้หากมีการเผยแพร่ข้อมูลของรายงานฉบับสุดท้ายแล้วจะมานำเสนอให้ทราบต่อไป
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
47 มุมมอง
0 รีวิว