วิชชา ๓
1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การจุติ(เคลื่อน-การเกิด) และการอุบัติของสัตว์
3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
อภิญญา ๖
1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ เช่น หายตัว เหาะได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
5. ทิพพจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
วิโมกข์ ๘
1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
วิชชา ๘
1 วิปัสสนาญาณ
จิตเป็นสมาธิ ไม่มีกิเลส ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว เปรียบเหมือนช่างเจียรใน ที่เจียรแก้วอัน งามสมส่วนบริสุทธิ์ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ
2 มโนมยิทธิญาณ
ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ นิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง เหมือนบุรุษชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดว่า นี้ดาบ นี้ฝัก
3 อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ เหมือนช่างทองจะขึ้นรูปแบบใดก็ทำได้ เมื่อจิตเป็นสมาธิไม่หวั่น ไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี คือ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ ไม่ติดขัด
4 ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ ย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้
5 เจโตปริยญาณ
เมื่อจิตเป็นสมาธิตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ เจโตปริยญาณ ย่อมรู้ใจของสัตว์อื่นของบุคคลอื่น คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมี โทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิตหลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป ว่าในภพโน้นเรามีโคตรอย่างนั้น
7 จุตูปปาตญาณ
ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรกหรือสววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไป เพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เห็นหมู่สัตว์ที่ กำลัง จุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
8 อาสวักขยญาณ
รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การจุติ(เคลื่อน-การเกิด) และการอุบัติของสัตว์
3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
อภิญญา ๖
1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ เช่น หายตัว เหาะได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
5. ทิพพจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
วิโมกข์ ๘
1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
วิชชา ๘
1 วิปัสสนาญาณ
จิตเป็นสมาธิ ไม่มีกิเลส ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว เปรียบเหมือนช่างเจียรใน ที่เจียรแก้วอัน งามสมส่วนบริสุทธิ์ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ
2 มโนมยิทธิญาณ
ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ นิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง เหมือนบุรุษชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดว่า นี้ดาบ นี้ฝัก
3 อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ เหมือนช่างทองจะขึ้นรูปแบบใดก็ทำได้ เมื่อจิตเป็นสมาธิไม่หวั่น ไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี คือ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ ไม่ติดขัด
4 ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ ย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้
5 เจโตปริยญาณ
เมื่อจิตเป็นสมาธิตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ เจโตปริยญาณ ย่อมรู้ใจของสัตว์อื่นของบุคคลอื่น คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมี โทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิตหลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป ว่าในภพโน้นเรามีโคตรอย่างนั้น
7 จุตูปปาตญาณ
ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรกหรือสววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไป เพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เห็นหมู่สัตว์ที่ กำลัง จุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
8 อาสวักขยญาณ
รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
วิชชา ๓
1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การจุติ(เคลื่อน-การเกิด) และการอุบัติของสัตว์
3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
อภิญญา ๖
1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ เช่น หายตัว เหาะได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
5. ทิพพจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
วิโมกข์ ๘
1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
วิชชา ๘
1 วิปัสสนาญาณ
จิตเป็นสมาธิ ไม่มีกิเลส ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว เปรียบเหมือนช่างเจียรใน ที่เจียรแก้วอัน งามสมส่วนบริสุทธิ์ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลสอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ
2 มโนมยิทธิญาณ
ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ นิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง เหมือนบุรุษชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดว่า นี้ดาบ นี้ฝัก
3 อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ เหมือนช่างทองจะขึ้นรูปแบบใดก็ทำได้ เมื่อจิตเป็นสมาธิไม่หวั่น ไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี คือ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปได้ ไม่ติดขัด
4 ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ ย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้
5 เจโตปริยญาณ
เมื่อจิตเป็นสมาธิตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ เจโตปริยญาณ ย่อมรู้ใจของสัตว์อื่นของบุคคลอื่น คือจิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมี โทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิตหลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัป ว่าในภพโน้นเรามีโคตรอย่างนั้น
7 จุตูปปาตญาณ
ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรกหรือสววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไป เพื่อรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เห็นหมู่สัตว์ที่ กำลัง จุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
8 อาสวักขยญาณ
รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตาม เป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา