ญาณ ๓ วิชชา ๓ อภิญญา 6 วิชชา ๘
(เนื้อหาพอสังเขป)
ญาณ ๓ วิชชา ๓
1. ปุพเพนิวาสา - ระลึกชาติในอดีตได้
2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การอุบัติของสัตว์
3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำให้สิ้นอาสวะ
อภิญญา ๖
1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ หายตัวได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
5. ทิพยจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
วิโมกข์ ๘
1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
วิชชา ๘
1 วิปัสสนาญาณ
จิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ
2 มโนมยิทธิญาณ
จิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง
3 อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุกำแพง ภูเขาไปได้ไม่ติดขัด
4 ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ
5 เจโตปริยญาณ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมรู้ใจของสัตว์ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิต หลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อระลึกชาติก่อนได้ ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง.. ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตรอย่างนั้น
7 จุตูปปาตญาณ
ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรก หรือ สววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
8 อาสวักขยญาณ
รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
(เนื้อหาพอสังเขป)
ญาณ ๓ วิชชา ๓
1. ปุพเพนิวาสา - ระลึกชาติในอดีตได้
2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การอุบัติของสัตว์
3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำให้สิ้นอาสวะ
อภิญญา ๖
1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ หายตัวได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
5. ทิพยจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
วิโมกข์ ๘
1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
วิชชา ๘
1 วิปัสสนาญาณ
จิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ
2 มโนมยิทธิญาณ
จิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง
3 อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุกำแพง ภูเขาไปได้ไม่ติดขัด
4 ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ
5 เจโตปริยญาณ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมรู้ใจของสัตว์ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิต หลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อระลึกชาติก่อนได้ ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง.. ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตรอย่างนั้น
7 จุตูปปาตญาณ
ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรก หรือ สววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
8 อาสวักขยญาณ
รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
ญาณ ๓ วิชชา ๓ อภิญญา 6 วิชชา ๘
(เนื้อหาพอสังเขป)
ญาณ ๓ วิชชา ๓
1. ปุพเพนิวาสา - ระลึกชาติในอดีตได้
2. จุตูปปาตญาณ -ความรู้การอุบัติของสัตว์
3. อาสวักขยญาณ - รู้การทำให้สิ้นอาสวะ
อภิญญา ๖
1. อิทธิวิธิ - มีฤทธิ์ หายตัวได้ เดินบนน้ำ ดำดินได้
2. ทิพพโสต - มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ เสียงเทวดา
3. เจโตปริยญาณ - รู้ใจผู้อื่น รู้ความคิดผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติย้อนไปในอดีตได้
5. ทิพยจักขุ - มีตาทิพย์ เห็นภพของสัตว์ในอนาคต
6. อาสวักขยญาณ - รู้การทำอาสวะให้หมดสิ้นไป
วิโมกข์ ๘
1. ผู้ได้รูปฌานย่อมเห็นรูป
2. ผู้ไม่มีความสำคัญในรูปในภายใน ย่อมเห็นรูปในภายนอก
3. ผู้ที่น้อมใจเชื่อว่า กสิณ เป็นของงาม
4. ผู้บรรลุ อากาสานัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า อากาศหาที่สุดมิได้
5. ผู้ที่บรรลุ วิญญาณัญจายตนะ ด้วยมนสิการว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้
6. ผู้ที่บรรลุอากิญจัญญายตนะ ด้วยมนสิการว่า ไม่มีอะไร
7. ผู้ที่บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะ เพราะล่วงอากิญจัญญายตนะ
8. ผู้ที่บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เพราะล่วงเนวสัญญานาสัญญายตนะ
วิชชา ๘
1 วิปัสสนาญาณ
จิตเป็นสมาธิ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณทัสนะ
2 มโนมยิทธิญาณ
จิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ย่อมตั้งมั่น ย่อมน้อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูป คือนิรมิตกายอื่นจากกายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้อยใหญ่ครบถ้วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง
3 อิทธิวิธญาณ
มีฤทธิ์ไม่มีประมาณ คนเดียวเป็นหลายคน หลายคนเป็นคนเดียว ทำให้ปรากฏได้ ทำให้หายก็ได้ ทะลุกำแพง ภูเขาไปได้ไม่ติดขัด
4 ทิพยโสตญาณ
หูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ไม่มีประมาณ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ย่อมตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ
5 เจโตปริยญาณ
เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมรู้ใจของสัตว์ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ จิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตเป็นจิต หลุดพ้น จิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น
6 ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
รู้อดีตชาติไม่มีประมาณ รู้อายุแต่ละภพ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ย่อมน้อมจิตไปเพื่อระลึกชาติก่อนได้ ชาติหนึ่ง.. แสนชาติบ้าง.. ว่าในภพโน้นเรามีชื่อ มีโคตรอย่างนั้น
7 จุตูปปาตญาณ
ทิพย์จักษุ-เห็นการจุติและอุบัติ หรือตกทุกข์ เข้าถึงนรก หรือ สววรค์ เมื่อจิตเป็นสมาธิ ย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์
8 อาสวักขยญาณ
รู้ชัดซึ่งทุกข์ สมุทัยนิโรธ รู้ว่าจิตหลุดพ้น รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา