ไฟเซอร์ จงใจโกหกว่า ยาฉีดmRNA (modified RNA) ยี่ห้อโคเมอร์เนตีของตนสามารถป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้

เป็นที่รู้กันทั่วไปในขณะนี้ว่า ยาฉีดยีนไวรัส ที่เอามาเรียกกันว่า mRNA vaccine ของไฟเซอร์นั้น ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อ ไม่สามารถป้องกันการแพร่เชื้อได้
แต่คงจำกันได้ดีถึงช่วงที่มีการ “บังคับ” ให้ฉีดยาฉีดยีนไวรัสนี้ ด้วยข้ออ้างว่า
“เพื่อปกป้องคุณปู่คุณย่า”
“เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่”
“เพื่อปกป้องคนอื่นในองค์กร”
“ในโรงเรียนมีการบังคับให้ครูฉีด 100% มิเช่นนั้นไม่อนุญาตให้เปิดสอน”
“ในโรงพยาบาลมีการบังคับแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ให้ฉีดมิเช่นนั้นจะไม่สามารถมาทำงานได้
ซ้ำร้ายยังบังคับให้ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ต้องรับยาฉีดพิษนี้”
ทั้งหมดนั้นล้วนอยู่บนข้ออ้างว่า เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ ป้องกันการติดเชื้อ

คำถามคือ แล้วไฟเซอร์ได้ทำการทดสอบใดๆว่า ยาฉีดของตนป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้ไหม?
คำตอบสั้นๆชัดเจน จากปากของผู้แทนบริษัทไฟเซอร์เองที่ตอบในสภายุโรปคือ
“ไม่ได้ทำ”
ไปฟังชัดๆได้เองในคลิปนี้ https://rumble.com/v1nhpkq-eu-parliament-member-rob-roos-asked-a-pfizer-representative-at-a-hearing-if.html

แต่คำตอบนี้คงไม่ทำให้หลายคนหายสงสัยว่าทำไม ผู้แทนของไฟเซอร์จึงตอบเช่นนั้น
ไม่ยากครับไปอ่านงานวิจัยที่ไฟเซอร์ ยื่นเพื่อขออนุญาตฉุกเฉินกับ FDA และอ.ย.ของไทยกัน งานวิจัยนี้อยู่บนฐานข้อมูลงานวิจัย ClinicalTrials.gov ในงานวิจัยเลขที่ NCT04816643
https://clinicaltrials.gov/study/NCT04816643?tab=results

และตีพิมพิ์งานวิจัยในวารสารทางวิชาการชื่อ New England Journal of Medicine ฉบับวันที่ ๖ มกราคม ค.ศ.๒๐๒๒ เรื่อง https://www.nejm.org/doi/10.1056/NEJMoa2116298

Evaluation of the BNT162b2 Covid-19 Vaccine in Children 5 to 11 Years of Age
(หลายท่านอาจจะแย้งว่าอันนี้เป็นงานวิจัยในเด็กเท่านั้น ใช่ครับแต่ยิ่งสำคัญเพราะว่ามีการบังคับฉีดเด็กเพื่ออ้างว่าปกป้องคนแก่ แต่ที่สำคัญคือ คำโกหกที่บริษัทยาใช้นั้น เป็นคำเดียวกันทั้งในการวิจัยในเด็กและผู้ใหญ่ เลยเอามาชี้ให้เห็นกันชัดๆแค่ในกรณีของเด็ก)

พวกนักวิชาการสะเพร่า ที่อ่านงานวิจัยแบบหยาบๆ ก็จะบอกว่างานวิจัยนี้เข้าสรุปว่า วัคซีนมีประสิทธิภาพตั้ง 90.7% ไง “Covid-19 with onset 7 days or more after the second dose was reported in three recipients of the BNT162b2 vaccine and in 16 placebo recipients (vaccine efficacy, 90.7%; 95% CI, 67.7 to 98.3).”

ครับใช่เขาเขียนอย่างนั้นจริงๆ แต่ที่เขียนไม่ได้แปลว่ากันติดเชื้อ หรือ กันแพร่เชื้อครับ แต่กันโควิด
หลายคนคง งง ว่าแล้วมันต่างกันตรงไหน
ต่างกันมากเลยครับและจะเข้าใจต้องตามไปอ่านในคำจำกัดความที่เขาเขียนไว้ในเอกสารแนบ “supplement” โดยเฉพาะในเอกสารที่ชื่อว่า “protocol”

หรือแปลไทยง่ายๆว่า วิธีทำวิจัย ในนั้นเขาจะระบุว่า “Covid” ที่พูดถึงในงานวิจัยนี้หมายความว่าอย่างไร ให้ไปดูที่ หน้า 93หัวข้อ 8.13

https://www.nejm.org/doi/10.1056/NEJMoa2116298

“COVID-19 and MIS-C Surveillance
(All participants)
ในนั้นเขาจะบอกว่า จะนับเป็นเคส “Covid” เมื่อพ่อแม่ผู้ปกครอง เห็นว่าเด็กมีอาการอย่างใดในลิสต์ (อาทิ ไข้ น้ำมูก ไอฯลฯ) และสงสัยว่า ป่วยจึงค่อยแจ้งผู้วิจัยเพื่อทำการการตรวจหาเชื้อว่า เพื่อจะยืนยันว่าติดเชื้อไหม
“ดังนั้นเด็กที่ติดเชื้อโดยไม่มีอาการจะไม่ถูกตรวจ” หรือ ต่อให้มีอาการแต่ พ่อแม่ผู้ปกครองไม่สงสัย ก็ไม่ได้ตรวจหาเชื้อ ที่แย่ไปกว่านั้น กรณีที่มีอาการหลังได้รับยาฉีด ให้เหมาว่า เป็นผลข้างเคียงของยาฉีด
ทั้งๆที่จริงแล้วเด็กอาจจะติดเชื้อก็ได้ แต่ให้ “ผู้ทำวิจัย”เป็นคนตันสินใจว่า ควรจะตรวจหาเชื้อหรือไม่ ทั้งๆที่ในความเป็นจริงควรจะตรวจหาเชื้อในทุกรายเลย ซึ่งแปลว่า จำนวนผู้ป่วยที่รายงานในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนน่าจะต่ำกว่าความเป็นจริง เพราะว่า กลุ่มยาหลอกจะได้น้ำเกลือซึ่งไม่มีปัญหาเรื่องอาการไข้ หรือ อาการอื่นๆที่คล้ายโควิดอยู่แล้ว และผู้วิจัยอาจจะตัดสินใจตรวจหาเชื้อหรือไม่ก็ได้ ฟังมาเท่านี้ก็แย่แล้วแต่จริงๆ ยังไม่หมดแค่นั้น
ประเด็นสำคัญ คือ ถ้าบริษัทยา ตั้งใจจะทดสอบว่า ยาฉีด mRNA ของตนสามารถป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้จริง ก็สามารถออกแบบการวิจัยที่พิสูจน์ประสิทธิภาพในเรื่องดังกล่าวได้ไม่ยาก โดยการ แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่ได้ยาหลอก (placebo หรือน้ำเกลือ) กับกลุ่มที่ได้ยาจริง (ยาฉีดmRNA) แล้วก็ติดตามตรวจหาเชื้อในกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มทุกราย ทุกสัปดาห์ ทำสักสองสามเดือนก็จะเห็นแล้วว่า อัตราการติดเชื้อในกลุ่มไหนสูงกว่ากัน เป็นการทำวิจัยที่ตรงไปตรงมา ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ทำได้จริง เพราะแม้แต่พวกเราเองในช่วงการระบาดยังถูกบังคับให้ตรวจหาเชื้อกันเป็นประจำ
ดังนั้นถ้าบริษัทยาจะทำย่อมเป็นเรื่องที่ทำได้ แต่บริษัทไฟเซอร์ ตั้งใจที่จะไม่ทดสอบ และตั้งใจที่จะโกหกว่า ยาฉีดยีนไวรัสของตนป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้ ซึ่งเป็นคำอธิบายว่าทำไมเมื่อถูกถามในสภายุโรป ผู้แทนบริษัทไฟเซอร์จึงตอบว่า ไม่ได้ทดสอบว่ายาฉีดของตนกันติดเชื้อได้ไหม เพราะสมาชิกสภายุโรปที่ตั้งคำถามนี้ ถามชัดว่า ถ้าทำการทดสอบขอให้แสดงผลการทดสอบให้ดูด้วย เมื่อไม่มีผลที่จะแสดงจึงจำใจต้องบอกตามตรงว่า ไม่ได้ทำ
ทำไมบริษัทยาจึงไม่ทำ?
คำตอบ คือเพราะรู้ว่าถ้าทำ ผลระหว่างกลุ่มที่ได้ยาหลอกกับได้ยาของตนจะไม่แตกต่างกัน เพราะรู้อยู่แต่แรกว่ายาฉีด mRNA ของตนนั้นมันกันติดเชื้อ กันแพร่เชื้อไม่ได้
เพราะเป็นการกระตุ้น ภูมิคุ้มกันชนิด IgG ที่อยู่ในกระแสเลือด จำช่วงที่เห่อไปตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันแล้วเอามาอวดว่าของใครสูงกว่ากันได้ไหม ที่ตรวจนั้นเป็น IgG ในเลือดที่จะทำงานเมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือดแล้ว แต่เชื้อไวรัสโควิดไม่ได้กระโดดจากอากาศเข้าสู่กระแสเลือดเลย แต่จะเข้าทางเยื่อบุทางเดินหายใจ เยื่อบุทางเดินอาหาร แปลว่ากว่าที่เชื้อจะเข้าไปในกระแสเลือดให้ IgG ได้ทำงาน เชื้อต้องเข้าไปในเซลล์บุผนังทางเดินหายใจหรือทางเดินอาหาร คนๆนั้นย่อมติดเชื้อในทางเดินหายใจหรือทางเดินอาหารแลัวกว่าIgG จะทำงานก็สายไปแล้ว
จริงๆถ้าตั้งใจจะทำวัคซีนให้กันติดเชื้อจริงๆ ต้องกระตุ้น IgA ที่อยู่บนเยื่อบุทางเดินหายใจ หรือทางเดินอาหาร วัคซีนที่จะทำอย่างนั้นต้องเป็นชนิดพ่นเข้าจมูก ไม่ใช่ฉีดเข้ากล้ามอย่างที่มาหลอกกัน
เรื่องภูมิคุ้มกัน IgG IgA นี้เป็นเรื่องพื้นฐานของวิชาภูมิคุ้มกันวิทยาที่สอนกันในโรงเรียนแพทย์ การที่แพทย์ที่อวดว่าตนเป็นผู้เชี่ยวชาญไม่รู้เรื่องนี้จึงเป็นไปได้ยาก ยิ่งมาหลอกประชาชนว่าระดับ IgG สูงๆจะกันติดเชื้อได้นั้นแปลว่า เขาเหล่านั้นมีความรู้น้อยมากหรือไม่ก็ตั้งใจโกหกเพื่อเชียร์ยา ไม่ต่างกับเซลล์แมน

อ่านถึงตรงนี้น่าจะพอเข้าใจว่า บริษัทยา ตั้งใจหลอก ให้ข้อมูลเท็จในสัญญา ให้ข้อมูลเท็จตอนขออนุญาตยา ที่น่าเศร้า คือ ผู้ที่อ้างว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญไม่โง่มาก ก็แกล้งโง่ ตั้งใจโกหกเพื่อช่วยขายยาให้บริษัทยา ซึ่งอาจเป็นการทำเพราะความสเน่ห์หารักใคร่ชอบพอกับบริษัท หรือว่าผลประโยชน์อื่นใดก็ไม่มีใครทราบได้
สรุปสั้นได้แค่ว่าๆ บริษัทยาตั้งใจโกหก ผู้เชี่ยวชาญโง่โดนหลอกหรือไม่ก็ร่วมมือกับบริษัทยาโกหก ประชาชน
https://www.facebook.com/share/p/64G4XUujFmDDyoPe/?mibextid=A7sQZp
🔥🏴‍☠️🏴‍☠️ ไฟเซอร์ จงใจโกหกว่า ยาฉีดmRNA (modified RNA) ยี่ห้อโคเมอร์เนตีของตนสามารถป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้ เป็นที่รู้กันทั่วไปในขณะนี้ว่า ยาฉีดยีนไวรัส ที่เอามาเรียกกันว่า mRNA vaccine ของไฟเซอร์นั้น ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อ ไม่สามารถป้องกันการแพร่เชื้อได้ 💥แต่คงจำกันได้ดีถึงช่วงที่มีการ “บังคับ” ให้ฉีดยาฉีดยีนไวรัสนี้ ด้วยข้ออ้างว่า “เพื่อปกป้องคุณปู่คุณย่า” “เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่” “เพื่อปกป้องคนอื่นในองค์กร” “ในโรงเรียนมีการบังคับให้ครูฉีด 100% มิเช่นนั้นไม่อนุญาตให้เปิดสอน” “ในโรงพยาบาลมีการบังคับแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ให้ฉีดมิเช่นนั้นจะไม่สามารถมาทำงานได้ ซ้ำร้ายยังบังคับให้ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ต้องรับยาฉีดพิษนี้” ทั้งหมดนั้นล้วนอยู่บนข้ออ้างว่า เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ ป้องกันการติดเชื้อ ⁉️คำถามคือ แล้วไฟเซอร์ได้ทำการทดสอบใดๆว่า ยาฉีดของตนป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้ไหม? คำตอบสั้นๆชัดเจน จากปากของผู้แทนบริษัทไฟเซอร์เองที่ตอบในสภายุโรปคือ “ไม่ได้ทำ” ไปฟังชัดๆได้เองในคลิปนี้ https://rumble.com/v1nhpkq-eu-parliament-member-rob-roos-asked-a-pfizer-representative-at-a-hearing-if.html แต่คำตอบนี้คงไม่ทำให้หลายคนหายสงสัยว่าทำไม ผู้แทนของไฟเซอร์จึงตอบเช่นนั้น ไม่ยากครับไปอ่านงานวิจัยที่ไฟเซอร์ ยื่นเพื่อขออนุญาตฉุกเฉินกับ FDA และอ.ย.ของไทยกัน งานวิจัยนี้อยู่บนฐานข้อมูลงานวิจัย ClinicalTrials.gov ในงานวิจัยเลขที่ NCT04816643 https://clinicaltrials.gov/study/NCT04816643?tab=results และตีพิมพิ์งานวิจัยในวารสารทางวิชาการชื่อ New England Journal of Medicine ฉบับวันที่ ๖ มกราคม ค.ศ.๒๐๒๒ เรื่อง https://www.nejm.org/doi/10.1056/NEJMoa2116298 Evaluation of the BNT162b2 Covid-19 Vaccine in Children 5 to 11 Years of Age (หลายท่านอาจจะแย้งว่าอันนี้เป็นงานวิจัยในเด็กเท่านั้น ใช่ครับแต่ยิ่งสำคัญเพราะว่ามีการบังคับฉีดเด็กเพื่ออ้างว่าปกป้องคนแก่ แต่ที่สำคัญคือ คำโกหกที่บริษัทยาใช้นั้น เป็นคำเดียวกันทั้งในการวิจัยในเด็กและผู้ใหญ่ เลยเอามาชี้ให้เห็นกันชัดๆแค่ในกรณีของเด็ก) พวกนักวิชาการสะเพร่า ที่อ่านงานวิจัยแบบหยาบๆ ก็จะบอกว่างานวิจัยนี้เข้าสรุปว่า วัคซีนมีประสิทธิภาพตั้ง 90.7% ไง “Covid-19 with onset 7 days or more after the second dose was reported in three recipients of the BNT162b2 vaccine and in 16 placebo recipients (vaccine efficacy, 90.7%; 95% CI, 67.7 to 98.3).” ครับใช่เขาเขียนอย่างนั้นจริงๆ แต่ที่เขียนไม่ได้แปลว่ากันติดเชื้อ หรือ กันแพร่เชื้อครับ แต่กันโควิด หลายคนคง งง ว่าแล้วมันต่างกันตรงไหน ต่างกันมากเลยครับและจะเข้าใจต้องตามไปอ่านในคำจำกัดความที่เขาเขียนไว้ในเอกสารแนบ “supplement” โดยเฉพาะในเอกสารที่ชื่อว่า “protocol” หรือแปลไทยง่ายๆว่า วิธีทำวิจัย ในนั้นเขาจะระบุว่า “Covid” ที่พูดถึงในงานวิจัยนี้หมายความว่าอย่างไร ให้ไปดูที่ หน้า 93หัวข้อ 8.13 https://www.nejm.org/doi/10.1056/NEJMoa2116298 “COVID-19 and MIS-C Surveillance (All participants) ในนั้นเขาจะบอกว่า จะนับเป็นเคส “Covid” เมื่อพ่อแม่ผู้ปกครอง เห็นว่าเด็กมีอาการอย่างใดในลิสต์ (อาทิ ไข้ น้ำมูก ไอฯลฯ) และสงสัยว่า ป่วยจึงค่อยแจ้งผู้วิจัยเพื่อทำการการตรวจหาเชื้อว่า เพื่อจะยืนยันว่าติดเชื้อไหม 💢“ดังนั้นเด็กที่ติดเชื้อโดยไม่มีอาการจะไม่ถูกตรวจ” หรือ ต่อให้มีอาการแต่ พ่อแม่ผู้ปกครองไม่สงสัย ก็ไม่ได้ตรวจหาเชื้อ ที่แย่ไปกว่านั้น กรณีที่มีอาการหลังได้รับยาฉีด ให้เหมาว่า เป็นผลข้างเคียงของยาฉีด ทั้งๆที่จริงแล้วเด็กอาจจะติดเชื้อก็ได้ แต่ให้ “ผู้ทำวิจัย”เป็นคนตันสินใจว่า ควรจะตรวจหาเชื้อหรือไม่ ทั้งๆที่ในความเป็นจริงควรจะตรวจหาเชื้อในทุกรายเลย ซึ่งแปลว่า จำนวนผู้ป่วยที่รายงานในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนน่าจะต่ำกว่าความเป็นจริง เพราะว่า กลุ่มยาหลอกจะได้น้ำเกลือซึ่งไม่มีปัญหาเรื่องอาการไข้ หรือ อาการอื่นๆที่คล้ายโควิดอยู่แล้ว และผู้วิจัยอาจจะตัดสินใจตรวจหาเชื้อหรือไม่ก็ได้ ฟังมาเท่านี้ก็แย่แล้วแต่จริงๆ ยังไม่หมดแค่นั้น 💢ประเด็นสำคัญ คือ ถ้าบริษัทยา ตั้งใจจะทดสอบว่า ยาฉีด mRNA ของตนสามารถป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้จริง ก็สามารถออกแบบการวิจัยที่พิสูจน์ประสิทธิภาพในเรื่องดังกล่าวได้ไม่ยาก โดยการ แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่ได้ยาหลอก (placebo หรือน้ำเกลือ) กับกลุ่มที่ได้ยาจริง (ยาฉีดmRNA) แล้วก็ติดตามตรวจหาเชื้อในกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มทุกราย ทุกสัปดาห์ ทำสักสองสามเดือนก็จะเห็นแล้วว่า อัตราการติดเชื้อในกลุ่มไหนสูงกว่ากัน เป็นการทำวิจัยที่ตรงไปตรงมา ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ทำได้จริง เพราะแม้แต่พวกเราเองในช่วงการระบาดยังถูกบังคับให้ตรวจหาเชื้อกันเป็นประจำ ดังนั้นถ้าบริษัทยาจะทำย่อมเป็นเรื่องที่ทำได้ แต่บริษัทไฟเซอร์ ตั้งใจที่จะไม่ทดสอบ และตั้งใจที่จะโกหกว่า ยาฉีดยีนไวรัสของตนป้องกันการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อได้ ซึ่งเป็นคำอธิบายว่าทำไมเมื่อถูกถามในสภายุโรป ผู้แทนบริษัทไฟเซอร์จึงตอบว่า ไม่ได้ทดสอบว่ายาฉีดของตนกันติดเชื้อได้ไหม เพราะสมาชิกสภายุโรปที่ตั้งคำถามนี้ ถามชัดว่า ถ้าทำการทดสอบขอให้แสดงผลการทดสอบให้ดูด้วย เมื่อไม่มีผลที่จะแสดงจึงจำใจต้องบอกตามตรงว่า ไม่ได้ทำ ทำไมบริษัทยาจึงไม่ทำ? คำตอบ คือเพราะรู้ว่าถ้าทำ ผลระหว่างกลุ่มที่ได้ยาหลอกกับได้ยาของตนจะไม่แตกต่างกัน เพราะรู้อยู่แต่แรกว่ายาฉีด mRNA ของตนนั้นมันกันติดเชื้อ กันแพร่เชื้อไม่ได้ 🎈เพราะเป็นการกระตุ้น ภูมิคุ้มกันชนิด IgG ที่อยู่ในกระแสเลือด จำช่วงที่เห่อไปตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันแล้วเอามาอวดว่าของใครสูงกว่ากันได้ไหม ที่ตรวจนั้นเป็น IgG ในเลือดที่จะทำงานเมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือดแล้ว แต่เชื้อไวรัสโควิดไม่ได้กระโดดจากอากาศเข้าสู่กระแสเลือดเลย แต่จะเข้าทางเยื่อบุทางเดินหายใจ เยื่อบุทางเดินอาหาร แปลว่ากว่าที่เชื้อจะเข้าไปในกระแสเลือดให้ IgG ได้ทำงาน เชื้อต้องเข้าไปในเซลล์บุผนังทางเดินหายใจหรือทางเดินอาหาร คนๆนั้นย่อมติดเชื้อในทางเดินหายใจหรือทางเดินอาหารแลัวกว่าIgG จะทำงานก็สายไปแล้ว 🌟จริงๆถ้าตั้งใจจะทำวัคซีนให้กันติดเชื้อจริงๆ ต้องกระตุ้น IgA ที่อยู่บนเยื่อบุทางเดินหายใจ หรือทางเดินอาหาร วัคซีนที่จะทำอย่างนั้นต้องเป็นชนิดพ่นเข้าจมูก ไม่ใช่ฉีดเข้ากล้ามอย่างที่มาหลอกกัน 🚩เรื่องภูมิคุ้มกัน IgG IgA นี้เป็นเรื่องพื้นฐานของวิชาภูมิคุ้มกันวิทยาที่สอนกันในโรงเรียนแพทย์ การที่แพทย์ที่อวดว่าตนเป็นผู้เชี่ยวชาญไม่รู้เรื่องนี้จึงเป็นไปได้ยาก ยิ่งมาหลอกประชาชนว่าระดับ IgG สูงๆจะกันติดเชื้อได้นั้นแปลว่า เขาเหล่านั้นมีความรู้น้อยมากหรือไม่ก็ตั้งใจโกหกเพื่อเชียร์ยา ไม่ต่างกับเซลล์แมน ⚠️อ่านถึงตรงนี้น่าจะพอเข้าใจว่า บริษัทยา ตั้งใจหลอก ให้ข้อมูลเท็จในสัญญา ให้ข้อมูลเท็จตอนขออนุญาตยา ที่น่าเศร้า คือ ผู้ที่อ้างว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญไม่โง่มาก ก็แกล้งโง่ ตั้งใจโกหกเพื่อช่วยขายยาให้บริษัทยา ซึ่งอาจเป็นการทำเพราะความสเน่ห์หารักใคร่ชอบพอกับบริษัท หรือว่าผลประโยชน์อื่นใดก็ไม่มีใครทราบได้ สรุปสั้นได้แค่ว่าๆ บริษัทยาตั้งใจโกหก ผู้เชี่ยวชาญโง่โดนหลอกหรือไม่ก็ร่วมมือกับบริษัทยาโกหก ประชาชน https://www.facebook.com/share/p/64G4XUujFmDDyoPe/?mibextid=A7sQZp
Like
1
0 Comments 0 Shares 599 Views 0 Reviews