กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (2)
ข้อดีของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น
1. อาจได้ต้นทุนเฉลี่ยลดลง คือเมื่อซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ จะช่วยลดต้นทุนเฉลี่ยของหน่วยลงทุนทั้งหมดลง ทำให้ในอนาคตเมื่อราคาฟื้นตัว อาจได้รับผลตอบแทนที่ดีขึ้น
• หลักคิดคือ เมื่อราคาของ Master Fund ฟื้นตัวขึ้น (NAV เพิ่มขึ้น) หน่วยลงทุนที่เราซื้อในราคาต่ำจะให้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น แล้วทำให้ผลตอบแทนโดยรวมของพอร์ตการลงทุนดีขึ้น เช่น สมมติว่าซื้อหน่วยลงทุนใน Feeder Fund เมื่อ NAV ของ Master Fund อยู่ที่ $100 และซื้อเพิ่มอีกครั้งเมื่อ NAV ลดลงเหลือ $80 ต้นทุนเฉลี่ยของเราอาจอยู่ที่ประมาณ $90 ซึ่งเมื่อราคาของ Master Fund กลับมาที่ $100 บาทอีกครั้ง ก็จะมีกำไรจากส่วนต่างที่เกิดขึ้น
• ลดต้นทุนเฉลี่ย หมายถึงการซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ เพื่อลดต้นทุนเฉลี่ยของการลงทุนทั้งหมด ซึ่งราคาต่ำในที่นี้หมายถึง การที่เราใช้เงินบาทน้อยลงในการแลกเปลี่ยนเป็นดอลลาร์สหรัฐ
2. เป็นโอกาสในการซื้อในตอนราคาน่าสนใจ คือถ้าเชื่อมั่นในสินทรัพย์ที่กองทุนลงทุนอยู่ เช่น ทองคำ การซื้อในช่วงที่ราคาต่ำอาจเป็นโอกาสที่ดีในการเข้าซื้อในราคาที่น่าสนใจ
• ราคาน่าสนใจ หรือราคาต่ำ แต่ละคนคิดไม่เหมือนกัน ขึ้นกับหลักคิดของแต่ละคน เช่น บางคนมองกราฟราคา บางคนวางกรอบราคาระยะสั้น-ยาว บางคนก็ศึกษามาเอง บางคนใช้ความเชื่อ บางคนฟังเขามาอีกที
ข้อเสียของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น
ต้นทุนเฉลี่ยอาจไม่ได้ลดลงจริง คือ กองทุนรวม Feeder Fund จะมีระบบบริหารงานภายใน เพื่อให้มีต้นทุนการดำเนินงานที่ควบคุมได้ เช่น
• เงินดอลลาร์ที่ใช้หมุนเวียน กองทุน Feeder Fund จำเป็นต้องมีเงินดอลลาร์เพื่อนำไปลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ซึ่งมักจะใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินก้อนนี้ถือเป็นต้นทุนคงที่ของกองทุน กองทุนจึงต้องบริหารเงินทุนนี้ให้มีต้นทุนที่ไม่ผันผวนนัก
• อาจไม่ได้รับผลจากค่าเงินบาทแข็งมากนัก นักลงทุนรายย่อยซื้อเพิ่มเข้ามาอีกในจำนวนที่ไม่มากนัก อาจไม่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนโดยรวมของกองทุนมากเท่าไร คือจริงๆ แล้วกองทุนอาจจ่ายเงินดอลลาร์ออกไป ด้วยต้นทุนเมื่อคิดเป็นเงินบาทแล้วไม่ต่างจากตอนปกติเท่าไรนัก นอกจากนี้ กองทุนอาจมีกลยุทธ์ในการบริหารเงินทุนที่ซับซ้อน เช่น การใช้สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Derivatives) เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
ข้อดีของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น
1. อาจได้ต้นทุนเฉลี่ยลดลง คือเมื่อซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ จะช่วยลดต้นทุนเฉลี่ยของหน่วยลงทุนทั้งหมดลง ทำให้ในอนาคตเมื่อราคาฟื้นตัว อาจได้รับผลตอบแทนที่ดีขึ้น
• หลักคิดคือ เมื่อราคาของ Master Fund ฟื้นตัวขึ้น (NAV เพิ่มขึ้น) หน่วยลงทุนที่เราซื้อในราคาต่ำจะให้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น แล้วทำให้ผลตอบแทนโดยรวมของพอร์ตการลงทุนดีขึ้น เช่น สมมติว่าซื้อหน่วยลงทุนใน Feeder Fund เมื่อ NAV ของ Master Fund อยู่ที่ $100 และซื้อเพิ่มอีกครั้งเมื่อ NAV ลดลงเหลือ $80 ต้นทุนเฉลี่ยของเราอาจอยู่ที่ประมาณ $90 ซึ่งเมื่อราคาของ Master Fund กลับมาที่ $100 บาทอีกครั้ง ก็จะมีกำไรจากส่วนต่างที่เกิดขึ้น
• ลดต้นทุนเฉลี่ย หมายถึงการซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ เพื่อลดต้นทุนเฉลี่ยของการลงทุนทั้งหมด ซึ่งราคาต่ำในที่นี้หมายถึง การที่เราใช้เงินบาทน้อยลงในการแลกเปลี่ยนเป็นดอลลาร์สหรัฐ
2. เป็นโอกาสในการซื้อในตอนราคาน่าสนใจ คือถ้าเชื่อมั่นในสินทรัพย์ที่กองทุนลงทุนอยู่ เช่น ทองคำ การซื้อในช่วงที่ราคาต่ำอาจเป็นโอกาสที่ดีในการเข้าซื้อในราคาที่น่าสนใจ
• ราคาน่าสนใจ หรือราคาต่ำ แต่ละคนคิดไม่เหมือนกัน ขึ้นกับหลักคิดของแต่ละคน เช่น บางคนมองกราฟราคา บางคนวางกรอบราคาระยะสั้น-ยาว บางคนก็ศึกษามาเอง บางคนใช้ความเชื่อ บางคนฟังเขามาอีกที
ข้อเสียของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น
ต้นทุนเฉลี่ยอาจไม่ได้ลดลงจริง คือ กองทุนรวม Feeder Fund จะมีระบบบริหารงานภายใน เพื่อให้มีต้นทุนการดำเนินงานที่ควบคุมได้ เช่น
• เงินดอลลาร์ที่ใช้หมุนเวียน กองทุน Feeder Fund จำเป็นต้องมีเงินดอลลาร์เพื่อนำไปลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ซึ่งมักจะใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินก้อนนี้ถือเป็นต้นทุนคงที่ของกองทุน กองทุนจึงต้องบริหารเงินทุนนี้ให้มีต้นทุนที่ไม่ผันผวนนัก
• อาจไม่ได้รับผลจากค่าเงินบาทแข็งมากนัก นักลงทุนรายย่อยซื้อเพิ่มเข้ามาอีกในจำนวนที่ไม่มากนัก อาจไม่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนโดยรวมของกองทุนมากเท่าไร คือจริงๆ แล้วกองทุนอาจจ่ายเงินดอลลาร์ออกไป ด้วยต้นทุนเมื่อคิดเป็นเงินบาทแล้วไม่ต่างจากตอนปกติเท่าไรนัก นอกจากนี้ กองทุนอาจมีกลยุทธ์ในการบริหารเงินทุนที่ซับซ้อน เช่น การใช้สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Derivatives) เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
กองทุนรวมทองคำ ที่ไม่ป้องกันความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน (2)
ข้อดีของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น
1. อาจได้ต้นทุนเฉลี่ยลดลง คือเมื่อซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ จะช่วยลดต้นทุนเฉลี่ยของหน่วยลงทุนทั้งหมดลง ทำให้ในอนาคตเมื่อราคาฟื้นตัว อาจได้รับผลตอบแทนที่ดีขึ้น
• หลักคิดคือ เมื่อราคาของ Master Fund ฟื้นตัวขึ้น (NAV เพิ่มขึ้น) หน่วยลงทุนที่เราซื้อในราคาต่ำจะให้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น แล้วทำให้ผลตอบแทนโดยรวมของพอร์ตการลงทุนดีขึ้น เช่น สมมติว่าซื้อหน่วยลงทุนใน Feeder Fund เมื่อ NAV ของ Master Fund อยู่ที่ $100 และซื้อเพิ่มอีกครั้งเมื่อ NAV ลดลงเหลือ $80 ต้นทุนเฉลี่ยของเราอาจอยู่ที่ประมาณ $90 ซึ่งเมื่อราคาของ Master Fund กลับมาที่ $100 บาทอีกครั้ง ก็จะมีกำไรจากส่วนต่างที่เกิดขึ้น
• ลดต้นทุนเฉลี่ย หมายถึงการซื้อหน่วยลงทุนเพิ่มในช่วงที่ราคาต่ำ เพื่อลดต้นทุนเฉลี่ยของการลงทุนทั้งหมด ซึ่งราคาต่ำในที่นี้หมายถึง การที่เราใช้เงินบาทน้อยลงในการแลกเปลี่ยนเป็นดอลลาร์สหรัฐ
2. เป็นโอกาสในการซื้อในตอนราคาน่าสนใจ คือถ้าเชื่อมั่นในสินทรัพย์ที่กองทุนลงทุนอยู่ เช่น ทองคำ การซื้อในช่วงที่ราคาต่ำอาจเป็นโอกาสที่ดีในการเข้าซื้อในราคาที่น่าสนใจ
• ราคาน่าสนใจ หรือราคาต่ำ แต่ละคนคิดไม่เหมือนกัน ขึ้นกับหลักคิดของแต่ละคน เช่น บางคนมองกราฟราคา บางคนวางกรอบราคาระยะสั้น-ยาว บางคนก็ศึกษามาเอง บางคนใช้ความเชื่อ บางคนฟังเขามาอีกที
ข้อเสียของการซื้อถัวเฉลี่ยในช่วงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น เช่น
ต้นทุนเฉลี่ยอาจไม่ได้ลดลงจริง คือ กองทุนรวม Feeder Fund จะมีระบบบริหารงานภายใน เพื่อให้มีต้นทุนการดำเนินงานที่ควบคุมได้ เช่น
• เงินดอลลาร์ที่ใช้หมุนเวียน กองทุน Feeder Fund จำเป็นต้องมีเงินดอลลาร์เพื่อนำไปลงทุนในกองทุนหลัก (Master Fund) ซึ่งมักจะใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินก้อนนี้ถือเป็นต้นทุนคงที่ของกองทุน กองทุนจึงต้องบริหารเงินทุนนี้ให้มีต้นทุนที่ไม่ผันผวนนัก
• อาจไม่ได้รับผลจากค่าเงินบาทแข็งมากนัก นักลงทุนรายย่อยซื้อเพิ่มเข้ามาอีกในจำนวนที่ไม่มากนัก อาจไม่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนโดยรวมของกองทุนมากเท่าไร คือจริงๆ แล้วกองทุนอาจจ่ายเงินดอลลาร์ออกไป ด้วยต้นทุนเมื่อคิดเป็นเงินบาทแล้วไม่ต่างจากตอนปกติเท่าไรนัก นอกจากนี้ กองทุนอาจมีกลยุทธ์ในการบริหารเงินทุนที่ซับซ้อน เช่น การใช้สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Derivatives) เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
440 มุมมอง
0 รีวิว