🤠#ปูตินพูดถึงเลนิน#ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดคือการเปลี่ยนประเทศที่เป็นเอกภาพให้เป็นสหภาพรัฐ🤠
หากรัสเซียไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนในปัจจุบันได้ ก็มีแนวโน้มมากที่รัสเซียจะต้องเผชิญวิกฤติการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 อีกครั้ง และนี่ไม่ใช่การพูดเกินจริงเลย
😎สหภาพโซเวียตล่มสลายได้อย่างไร?😎 นี่เป็นปัญหาข้ามศตวรรษซึ่งยังคงค้างคาอยู่ในจิตใจของนักประวัติศาสตร์นับตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีค.ศ. 1991
“อาณาเขตอันกว้างใหญ่ อุตสาหกรรมหนักที่พัฒนาแล้ว และความแข็งแกร่งทางการทหารครั้งหนึ่งเคยทำให้ชาวอเมริกันที่หยิ่งยโสหวาดกลัว”
จนถึงทุกวันนี้ ในทุกมุมของโลก ยังมีผู้คนจำนวนนับไม่ถ้วนที่คิดถึงอาณาจักรสีแดงในอดีต
ในฐานะสมาชิกของอดีตจักรวรรดิโซเวียตอันยิ่งใหญ่ และในฐานะหัวหน้ารัฐบาลรัสเซียในปัจจุบัน 😎ปูตินพูดไม่ออกและพูดนับครั้งไม่ถ้วนเมื่อเผชิญการสัมภาษณ์ : ใครก็ตามที่ไม่รู้สึกเสียใจต่อกรณีสหภาพโซเวียตย่อมไม่มีจิตสำนึกในมโนธรรม😎
แต่ในขณะเดียวกัน ปูตินก็กล่าวอย่างไม่เกรงอกเกรงใจดังนี้ว่า
😎“โศกนาฏกรรมของสหภาพโซเวียตถึงวาระกำหนดไว้แล้วตั้งแต่แรกเริ่ม คือ เลนินเองที่เป็นผู้เปลี่ยนประเทศทั้งประเทศให้กลายเป็นพันธมิตรที่เบื้องหน้าดูเหมือนจะกลมกลืนกัน” 😎
🤠แล้วอะไรคือเหตุผลว่าทำไมปูตินจึงประเมินอดีตสหภาพโซเวียตและเลนินอย่างเปลือยเปล่าและเปิดเผยต่อสาธารณะ? การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งโศกนาฏกรรมที่เลนินหว่านเพาะไว้จริง ๆ หรือไม่?🤠
🥰หนึ่ง🥰
ในปีค.ศ. 1914 เริ่มแรกเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป
แม้ว่าการสู้รบจะดุเดือดในภายนอก แต่ภายในรัสเซียในขณะนั้น ยังคงมีความขัดแย้งอย่างรุนแรงในประเด็นที่ว่าใครครอบครองอยู่ในอำนาจปกครอง รัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพีหรือว่ารัฐบาลโซเวียต
ในเวลานี้ เลนินยังส่งเสริมแนวคิดเรื่องชนชั้นกรรมาชีพทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง
ในขณะที่รัฐบาลเฉพาะกาลในรัสเซียประสบความพ่ายแพ้อันน่าสลดใจในสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้คนก็เริ่มออกมาเดินขบวนประท้วงตามท้องถนนเพื่อต่อต้านการไร้ความสามารถของรัฐบาลเฉพาะกาล
เมื่อต้องเผชิญกับผู้ประท้วงจำนวนมาก รัฐบาลชั่วคราวของรัสเซียจึงเลือกที่จะใช้กำลังเพื่อปราบปรามพวกเขา แม้ว่าสังคมจะเงียบสงบชั่วคราว แต่พวกเขาไม่รู้เลยว่าพายุการเมืองลูกใหญ่กำลังจะโจมตี
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ภายใต้เสียงปลุกระดมของเลนิน ชนชั้นแรงงานในรัสเซียเริ่มโจมตีรัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพี
ชั่วข้ามคืน รัฐบาลเฉพาะกาลถอนตัวออกจากเวทีประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง ตามมาด้วยการกำเนิดสาธารณรัฐโซเวียตใหม่ ตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติได้พลิกโฉมหน้าใหม่
การกำเนิดของโซเวียตรัสเซียได้สร้างแบบอย่างและแรงบันดาลใจมากมายให้กับประเทศเล็กๆ หลายแห่งซึ่งแต่เดิมถูกควบคุมโดยซาร์รัสเซีย
🥰สอง🥰
ในการประชุมรัฐสภาโซเวียตครั้งแรกในปี ค.ศ. 1922 เลนินละทิ้งประวัติศาสตร์ของซาร์รัสเซีย และเลือกที่จะไม่สถาปนารัฐที่มีหลายเชื้อชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กลับเลือกที่จะสร้างสถาปนาแนวร่วมของรัฐต่างๆแทน
ดังนั้นการดำรงอยู่ของซาร์รัสเซียที่มีหลายเชื้อชาติเป็นหนึ่งเดียวมันเป็นการดำรงเหลือคงอยู่แบบใด?
ในศตวรรษที่ 13 กองทัพม้าของ โกลเดนฮอร์ด (Golden Horde金帐汗国)ชาวมองโกเลียเหยียบย่ำเข้าไปในดินแดนที่ปัจจุบันคือรัสเซีย ดังนั้นในช่วงเวลาอันยาวนานที่ซาร์รัสเซียจึงถือเอาการได้โค่นล้มการปกครองของมองโกเลียเป็นเรื่องราวระดับชาติของพวกเขา
ในช่วงการกบฏอำนาจของอาณาเขตมอสโกค่อยๆเติบโต เริ่มค่อยๆพยายามแยกตัวออกจากการปกครองของมองโกล
ในปีค.ศ. 1480 อีวานที่ 3 วาซีลเยวิช(Ivan III Vasilyevich伊凡三世·瓦西里耶维奇) แห่งมอสโกได้นำประชาชนฟื้นฟูการปกครองที่เป็นอิสระอย่างเป็นทางการ
😎นั่นคือต่อมาเป็นซาร์รัสเซียนั่นเอง😎
หลังจากผ่านช่วงเวลาความเจริญขึ้นๆ ลงๆ เป็นเวลาหลายร้อยปี การถือกำเนิดของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)ได้นำพารัสเซียไปสู่จุดสูงสุดอีกครั้ง
สิ่งควรค่าที่จะกล่าวภึงคือ ในปีค.ศ. 1721 หลังจากที่จักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)นำประชาชนของเขาเอาชนะสวีเดน เขาก็ประสบความสำเร็จในการยืนหยัดอยู่ท่ามกลางประเทศมหาอำนาจของโลก
เพื่อบรรลุถึงความทะเยอทะยานที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขายิ่งขึ้น และยังเพื่อที่รักษาความมั่นคงตำแหน่งอำนาจของพวกเขา วุฒิสภารัสเซียจึงได้สวมมงกุฎแก่ปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)เป็นจักรพรรดิ
😎ตั้งแต่เวลานี้เป็นต้นไปที่ซาร์รัสเซียกลายเป็นจักรวรรดิรัสเซียอย่างเป็นทางการ😎
🤠กล่าวคือ ภายใต้ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์เช่นนี้ ซาร์รัสเซียไม่เคยได้เป็นพันธมิตรระหว่างประเทศ แต่เป็นประเทศที่มีหลายเชื้อชาติรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาโดยตลอด🤠
🥰สาม🥰
ปูตินเป็นคนเข้มแข็ง เขาสนับสนุนการเมืองที่เข้มแข็ง และแนวคิดเรื่องความสามัคคีนั้นหยั่งรากลึกอยู่ในกระดูกของเขา ในมุมมองของเขา ตัวเขาเองใช้เวลาทั้งชีวิตทำงานอย่างหนักเพื่อให้รัสเซียสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันและก้าวไปข้างหน้า
เขาชื่นชมการเมืองที่เข้มแข็งของสตาลิน และเขาไม่เห็นด้วยกับแนวทางการสร้างชาติของเลนิน
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเลนินได้สร้างพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นครั้งแรกที่ชาวสลาฟรู้สึกถึงความภาคภูมิใจและความภาคภูมิใจที่ได้ยืนอยู่ที่หัวสะพานของโลก
แต่ในทางกลับกัน และเป็นเพราะการรวมตัวแบบที่มีความหลวมตัวของพันธมิตรของประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งโดยเลนินนั่นเอง ทำให้หลายประเทศในปัจจุบันสามารถแยกตัวออกจากรัสเซียได้อย่างรวดเร็ว และแม้กระทั่งหันไปทางตะวันตกโดยสิ้นเชิง เช่น ยูเครนในปัจจุบัน
แต่เมื่อเรามองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ ก็ไม่ยากเลยที่จะเห็นว่า ไม่ใช่ว่าเลนินไม่ได้คิดถึงผลที่ตามมาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่พันธมิตรระดับชาติ หากเลนินมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกสองสามปี บางทีเขาอาจจะหลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได้
ในเวลานั้น สหภาพโซเวียต เชชเนีย ยูเครน และภูมิภาคอื่นๆ มักเรียกร้องเอกราช แม้จะต้องแลกกับการสู้รบก็ตาม
สหภาพโซเวียตซึ่งเพิ่งโผล่ออกมาจากควันแห่งความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่สามารถต้านทานวิกฤติการแยกตัวออกใหม่หรือจุดประกายสงครามอีกครั้งได้
เมื่อถูกบังคับกดดันจนไม่มีหนทางที่เหมาะสม เลนินทำได้แค่แนวทางสายเฉลี่ยปานกลางเท่านั้น นั่นก็คือในรูปแบบของพันธมิตรระดับชาติ ซึ่งก็คือการยึดรักษากลุ่มชาติพันธุ์และภูมิภาคที่มีอาการไม่สงบเหล่านี้ไว้อย่างมั่นคงให้อยู่ภายใต้เคียวสีแดงของสหภาพโซเวียต
🥰สี่🥰
การล่มสลายของสหภาพโซเวียตมีสาเหตุหลายประการ และไม่สามารถนำมาประกอบว่าเป็นสาเหตุอย่างง่ายๆเนื่องจากบุคคลคนเดียวหรือปัจจัยนอกอาณาเขตอื่นๆ ได้
😎ประการที่หนึ่ง คือ ความแข็งแกร่งของระบบ😎
: เลนินออกแบบพิมพ์เขียวอันยิ่งใหญ่สำหรับอนาคตของสหภาพโซเวียต แต่มันก็มีอุดมคติมากเกินไป สิ่งนี้ทำให้สตาลินถึงกับเยาะเย้ยดูแคลนสิ่งดังกล่าวเพื่อที่จะกลายเป็นมหาอำนาจที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในโลกอย่างรวดเร็ว
สตาลินเลือกที่จะให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก และกำลังคนและทรัพยากรทั้งหมดถูกบังคับให้เอียงเทไปด้านหนึ่ง
แม้ว่าการพัฒนาอย่างรวดเร็วจะเกิดขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ในระยะยาว สหภาพโซเวียตยักษ์ใหญ่ตนนี้เดินด้วยขาเดียวซึ่งไม่มั่นคง
ดังนั้น เมื่อกองกำลังอิทธิพลตะวันตกบุกเข้ามา เพียงแค่วิวัฒนาการอย่างสันติเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอที่จะทำลายขาอีกข้างของสหภาพโซเวียตและทำให้เป็นอัมพาตโดยสิ้นเชิง
😎ประการที่สอง คือ การสูญเสียการสำรวจตรวจสอบ😎
🤠เติ้งกง(邓公)เคยกล่าวไว้ว่า สังคมนิยมแท้จริงแล้วมีลักษณะเป็นอย่างไร?สหภาพโซเวียตทำสิ่งนี้มาหลายทศวรรษแล้ว ยังไม่เข้าใจว่าเป็นอย่างไร เพียงแค่ประโยคเดียว เขาก็เข้าถึงประเด็นสำคัญของสหภาพโซเวียตอย่างแม่นยำ🤠
ตั้งแต่สตาลินไปจนถึงครุสชอฟไปจนถึงเบรจเนฟและแม้แต่กอร์บาชอฟ พวกเขาต่างพยายามสำรวจว่าลัทธิสังคมนิยมในจินตนาการจะเป็นอย่างไร
แต่เมื่อได้เห็นลักษณะลีลาร้อยแปดพันเก้าต่างๆ ของชาติตะวันตกแล้ว พวกเขาก็เริ่มมีความสั่นคลอนอุดมคติและความเชื่อมั่นของตน เกี่ยวการสำรวจและปฏิบัติทางสังคมนิยมจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะออกนอกเส้นทาง
🤯โปรดติดตามบทความที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🤯
🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
หากรัสเซียไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนในปัจจุบันได้ ก็มีแนวโน้มมากที่รัสเซียจะต้องเผชิญวิกฤติการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 อีกครั้ง และนี่ไม่ใช่การพูดเกินจริงเลย
😎สหภาพโซเวียตล่มสลายได้อย่างไร?😎 นี่เป็นปัญหาข้ามศตวรรษซึ่งยังคงค้างคาอยู่ในจิตใจของนักประวัติศาสตร์นับตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีค.ศ. 1991
“อาณาเขตอันกว้างใหญ่ อุตสาหกรรมหนักที่พัฒนาแล้ว และความแข็งแกร่งทางการทหารครั้งหนึ่งเคยทำให้ชาวอเมริกันที่หยิ่งยโสหวาดกลัว”
จนถึงทุกวันนี้ ในทุกมุมของโลก ยังมีผู้คนจำนวนนับไม่ถ้วนที่คิดถึงอาณาจักรสีแดงในอดีต
ในฐานะสมาชิกของอดีตจักรวรรดิโซเวียตอันยิ่งใหญ่ และในฐานะหัวหน้ารัฐบาลรัสเซียในปัจจุบัน 😎ปูตินพูดไม่ออกและพูดนับครั้งไม่ถ้วนเมื่อเผชิญการสัมภาษณ์ : ใครก็ตามที่ไม่รู้สึกเสียใจต่อกรณีสหภาพโซเวียตย่อมไม่มีจิตสำนึกในมโนธรรม😎
แต่ในขณะเดียวกัน ปูตินก็กล่าวอย่างไม่เกรงอกเกรงใจดังนี้ว่า
😎“โศกนาฏกรรมของสหภาพโซเวียตถึงวาระกำหนดไว้แล้วตั้งแต่แรกเริ่ม คือ เลนินเองที่เป็นผู้เปลี่ยนประเทศทั้งประเทศให้กลายเป็นพันธมิตรที่เบื้องหน้าดูเหมือนจะกลมกลืนกัน” 😎
🤠แล้วอะไรคือเหตุผลว่าทำไมปูตินจึงประเมินอดีตสหภาพโซเวียตและเลนินอย่างเปลือยเปล่าและเปิดเผยต่อสาธารณะ? การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งโศกนาฏกรรมที่เลนินหว่านเพาะไว้จริง ๆ หรือไม่?🤠
🥰หนึ่ง🥰
ในปีค.ศ. 1914 เริ่มแรกเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป
แม้ว่าการสู้รบจะดุเดือดในภายนอก แต่ภายในรัสเซียในขณะนั้น ยังคงมีความขัดแย้งอย่างรุนแรงในประเด็นที่ว่าใครครอบครองอยู่ในอำนาจปกครอง รัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพีหรือว่ารัฐบาลโซเวียต
ในเวลานี้ เลนินยังส่งเสริมแนวคิดเรื่องชนชั้นกรรมาชีพทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง
ในขณะที่รัฐบาลเฉพาะกาลในรัสเซียประสบความพ่ายแพ้อันน่าสลดใจในสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้คนก็เริ่มออกมาเดินขบวนประท้วงตามท้องถนนเพื่อต่อต้านการไร้ความสามารถของรัฐบาลเฉพาะกาล
เมื่อต้องเผชิญกับผู้ประท้วงจำนวนมาก รัฐบาลชั่วคราวของรัสเซียจึงเลือกที่จะใช้กำลังเพื่อปราบปรามพวกเขา แม้ว่าสังคมจะเงียบสงบชั่วคราว แต่พวกเขาไม่รู้เลยว่าพายุการเมืองลูกใหญ่กำลังจะโจมตี
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ภายใต้เสียงปลุกระดมของเลนิน ชนชั้นแรงงานในรัสเซียเริ่มโจมตีรัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพี
ชั่วข้ามคืน รัฐบาลเฉพาะกาลถอนตัวออกจากเวทีประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง ตามมาด้วยการกำเนิดสาธารณรัฐโซเวียตใหม่ ตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติได้พลิกโฉมหน้าใหม่
การกำเนิดของโซเวียตรัสเซียได้สร้างแบบอย่างและแรงบันดาลใจมากมายให้กับประเทศเล็กๆ หลายแห่งซึ่งแต่เดิมถูกควบคุมโดยซาร์รัสเซีย
🥰สอง🥰
ในการประชุมรัฐสภาโซเวียตครั้งแรกในปี ค.ศ. 1922 เลนินละทิ้งประวัติศาสตร์ของซาร์รัสเซีย และเลือกที่จะไม่สถาปนารัฐที่มีหลายเชื้อชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กลับเลือกที่จะสร้างสถาปนาแนวร่วมของรัฐต่างๆแทน
ดังนั้นการดำรงอยู่ของซาร์รัสเซียที่มีหลายเชื้อชาติเป็นหนึ่งเดียวมันเป็นการดำรงเหลือคงอยู่แบบใด?
ในศตวรรษที่ 13 กองทัพม้าของ โกลเดนฮอร์ด (Golden Horde金帐汗国)ชาวมองโกเลียเหยียบย่ำเข้าไปในดินแดนที่ปัจจุบันคือรัสเซีย ดังนั้นในช่วงเวลาอันยาวนานที่ซาร์รัสเซียจึงถือเอาการได้โค่นล้มการปกครองของมองโกเลียเป็นเรื่องราวระดับชาติของพวกเขา
ในช่วงการกบฏอำนาจของอาณาเขตมอสโกค่อยๆเติบโต เริ่มค่อยๆพยายามแยกตัวออกจากการปกครองของมองโกล
ในปีค.ศ. 1480 อีวานที่ 3 วาซีลเยวิช(Ivan III Vasilyevich伊凡三世·瓦西里耶维奇) แห่งมอสโกได้นำประชาชนฟื้นฟูการปกครองที่เป็นอิสระอย่างเป็นทางการ
😎นั่นคือต่อมาเป็นซาร์รัสเซียนั่นเอง😎
หลังจากผ่านช่วงเวลาความเจริญขึ้นๆ ลงๆ เป็นเวลาหลายร้อยปี การถือกำเนิดของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)ได้นำพารัสเซียไปสู่จุดสูงสุดอีกครั้ง
สิ่งควรค่าที่จะกล่าวภึงคือ ในปีค.ศ. 1721 หลังจากที่จักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)นำประชาชนของเขาเอาชนะสวีเดน เขาก็ประสบความสำเร็จในการยืนหยัดอยู่ท่ามกลางประเทศมหาอำนาจของโลก
เพื่อบรรลุถึงความทะเยอทะยานที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขายิ่งขึ้น และยังเพื่อที่รักษาความมั่นคงตำแหน่งอำนาจของพวกเขา วุฒิสภารัสเซียจึงได้สวมมงกุฎแก่ปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)เป็นจักรพรรดิ
😎ตั้งแต่เวลานี้เป็นต้นไปที่ซาร์รัสเซียกลายเป็นจักรวรรดิรัสเซียอย่างเป็นทางการ😎
🤠กล่าวคือ ภายใต้ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์เช่นนี้ ซาร์รัสเซียไม่เคยได้เป็นพันธมิตรระหว่างประเทศ แต่เป็นประเทศที่มีหลายเชื้อชาติรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาโดยตลอด🤠
🥰สาม🥰
ปูตินเป็นคนเข้มแข็ง เขาสนับสนุนการเมืองที่เข้มแข็ง และแนวคิดเรื่องความสามัคคีนั้นหยั่งรากลึกอยู่ในกระดูกของเขา ในมุมมองของเขา ตัวเขาเองใช้เวลาทั้งชีวิตทำงานอย่างหนักเพื่อให้รัสเซียสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันและก้าวไปข้างหน้า
เขาชื่นชมการเมืองที่เข้มแข็งของสตาลิน และเขาไม่เห็นด้วยกับแนวทางการสร้างชาติของเลนิน
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเลนินได้สร้างพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นครั้งแรกที่ชาวสลาฟรู้สึกถึงความภาคภูมิใจและความภาคภูมิใจที่ได้ยืนอยู่ที่หัวสะพานของโลก
แต่ในทางกลับกัน และเป็นเพราะการรวมตัวแบบที่มีความหลวมตัวของพันธมิตรของประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งโดยเลนินนั่นเอง ทำให้หลายประเทศในปัจจุบันสามารถแยกตัวออกจากรัสเซียได้อย่างรวดเร็ว และแม้กระทั่งหันไปทางตะวันตกโดยสิ้นเชิง เช่น ยูเครนในปัจจุบัน
แต่เมื่อเรามองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ ก็ไม่ยากเลยที่จะเห็นว่า ไม่ใช่ว่าเลนินไม่ได้คิดถึงผลที่ตามมาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่พันธมิตรระดับชาติ หากเลนินมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกสองสามปี บางทีเขาอาจจะหลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได้
ในเวลานั้น สหภาพโซเวียต เชชเนีย ยูเครน และภูมิภาคอื่นๆ มักเรียกร้องเอกราช แม้จะต้องแลกกับการสู้รบก็ตาม
สหภาพโซเวียตซึ่งเพิ่งโผล่ออกมาจากควันแห่งความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่สามารถต้านทานวิกฤติการแยกตัวออกใหม่หรือจุดประกายสงครามอีกครั้งได้
เมื่อถูกบังคับกดดันจนไม่มีหนทางที่เหมาะสม เลนินทำได้แค่แนวทางสายเฉลี่ยปานกลางเท่านั้น นั่นก็คือในรูปแบบของพันธมิตรระดับชาติ ซึ่งก็คือการยึดรักษากลุ่มชาติพันธุ์และภูมิภาคที่มีอาการไม่สงบเหล่านี้ไว้อย่างมั่นคงให้อยู่ภายใต้เคียวสีแดงของสหภาพโซเวียต
🥰สี่🥰
การล่มสลายของสหภาพโซเวียตมีสาเหตุหลายประการ และไม่สามารถนำมาประกอบว่าเป็นสาเหตุอย่างง่ายๆเนื่องจากบุคคลคนเดียวหรือปัจจัยนอกอาณาเขตอื่นๆ ได้
😎ประการที่หนึ่ง คือ ความแข็งแกร่งของระบบ😎
: เลนินออกแบบพิมพ์เขียวอันยิ่งใหญ่สำหรับอนาคตของสหภาพโซเวียต แต่มันก็มีอุดมคติมากเกินไป สิ่งนี้ทำให้สตาลินถึงกับเยาะเย้ยดูแคลนสิ่งดังกล่าวเพื่อที่จะกลายเป็นมหาอำนาจที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในโลกอย่างรวดเร็ว
สตาลินเลือกที่จะให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก และกำลังคนและทรัพยากรทั้งหมดถูกบังคับให้เอียงเทไปด้านหนึ่ง
แม้ว่าการพัฒนาอย่างรวดเร็วจะเกิดขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ในระยะยาว สหภาพโซเวียตยักษ์ใหญ่ตนนี้เดินด้วยขาเดียวซึ่งไม่มั่นคง
ดังนั้น เมื่อกองกำลังอิทธิพลตะวันตกบุกเข้ามา เพียงแค่วิวัฒนาการอย่างสันติเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอที่จะทำลายขาอีกข้างของสหภาพโซเวียตและทำให้เป็นอัมพาตโดยสิ้นเชิง
😎ประการที่สอง คือ การสูญเสียการสำรวจตรวจสอบ😎
🤠เติ้งกง(邓公)เคยกล่าวไว้ว่า สังคมนิยมแท้จริงแล้วมีลักษณะเป็นอย่างไร?สหภาพโซเวียตทำสิ่งนี้มาหลายทศวรรษแล้ว ยังไม่เข้าใจว่าเป็นอย่างไร เพียงแค่ประโยคเดียว เขาก็เข้าถึงประเด็นสำคัญของสหภาพโซเวียตอย่างแม่นยำ🤠
ตั้งแต่สตาลินไปจนถึงครุสชอฟไปจนถึงเบรจเนฟและแม้แต่กอร์บาชอฟ พวกเขาต่างพยายามสำรวจว่าลัทธิสังคมนิยมในจินตนาการจะเป็นอย่างไร
แต่เมื่อได้เห็นลักษณะลีลาร้อยแปดพันเก้าต่างๆ ของชาติตะวันตกแล้ว พวกเขาก็เริ่มมีความสั่นคลอนอุดมคติและความเชื่อมั่นของตน เกี่ยวการสำรวจและปฏิบัติทางสังคมนิยมจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะออกนอกเส้นทาง
🤯โปรดติดตามบทความที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🤯
🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
🤠#ปูตินพูดถึงเลนิน#ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดคือการเปลี่ยนประเทศที่เป็นเอกภาพให้เป็นสหภาพรัฐ🤠
หากรัสเซียไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนในปัจจุบันได้ ก็มีแนวโน้มมากที่รัสเซียจะต้องเผชิญวิกฤติการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 อีกครั้ง และนี่ไม่ใช่การพูดเกินจริงเลย
😎สหภาพโซเวียตล่มสลายได้อย่างไร?😎 นี่เป็นปัญหาข้ามศตวรรษซึ่งยังคงค้างคาอยู่ในจิตใจของนักประวัติศาสตร์นับตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีค.ศ. 1991
“อาณาเขตอันกว้างใหญ่ อุตสาหกรรมหนักที่พัฒนาแล้ว และความแข็งแกร่งทางการทหารครั้งหนึ่งเคยทำให้ชาวอเมริกันที่หยิ่งยโสหวาดกลัว”
จนถึงทุกวันนี้ ในทุกมุมของโลก ยังมีผู้คนจำนวนนับไม่ถ้วนที่คิดถึงอาณาจักรสีแดงในอดีต
ในฐานะสมาชิกของอดีตจักรวรรดิโซเวียตอันยิ่งใหญ่ และในฐานะหัวหน้ารัฐบาลรัสเซียในปัจจุบัน 😎ปูตินพูดไม่ออกและพูดนับครั้งไม่ถ้วนเมื่อเผชิญการสัมภาษณ์ : ใครก็ตามที่ไม่รู้สึกเสียใจต่อกรณีสหภาพโซเวียตย่อมไม่มีจิตสำนึกในมโนธรรม😎
แต่ในขณะเดียวกัน ปูตินก็กล่าวอย่างไม่เกรงอกเกรงใจดังนี้ว่า
😎“โศกนาฏกรรมของสหภาพโซเวียตถึงวาระกำหนดไว้แล้วตั้งแต่แรกเริ่ม คือ เลนินเองที่เป็นผู้เปลี่ยนประเทศทั้งประเทศให้กลายเป็นพันธมิตรที่เบื้องหน้าดูเหมือนจะกลมกลืนกัน” 😎
🤠แล้วอะไรคือเหตุผลว่าทำไมปูตินจึงประเมินอดีตสหภาพโซเวียตและเลนินอย่างเปลือยเปล่าและเปิดเผยต่อสาธารณะ? การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งโศกนาฏกรรมที่เลนินหว่านเพาะไว้จริง ๆ หรือไม่?🤠
🥰หนึ่ง🥰
ในปีค.ศ. 1914 เริ่มแรกเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป
แม้ว่าการสู้รบจะดุเดือดในภายนอก แต่ภายในรัสเซียในขณะนั้น ยังคงมีความขัดแย้งอย่างรุนแรงในประเด็นที่ว่าใครครอบครองอยู่ในอำนาจปกครอง รัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพีหรือว่ารัฐบาลโซเวียต
ในเวลานี้ เลนินยังส่งเสริมแนวคิดเรื่องชนชั้นกรรมาชีพทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง
ในขณะที่รัฐบาลเฉพาะกาลในรัสเซียประสบความพ่ายแพ้อันน่าสลดใจในสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้คนก็เริ่มออกมาเดินขบวนประท้วงตามท้องถนนเพื่อต่อต้านการไร้ความสามารถของรัฐบาลเฉพาะกาล
เมื่อต้องเผชิญกับผู้ประท้วงจำนวนมาก รัฐบาลชั่วคราวของรัสเซียจึงเลือกที่จะใช้กำลังเพื่อปราบปรามพวกเขา แม้ว่าสังคมจะเงียบสงบชั่วคราว แต่พวกเขาไม่รู้เลยว่าพายุการเมืองลูกใหญ่กำลังจะโจมตี
เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ภายใต้เสียงปลุกระดมของเลนิน ชนชั้นแรงงานในรัสเซียเริ่มโจมตีรัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพี
ชั่วข้ามคืน รัฐบาลเฉพาะกาลถอนตัวออกจากเวทีประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง ตามมาด้วยการกำเนิดสาธารณรัฐโซเวียตใหม่ ตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติได้พลิกโฉมหน้าใหม่
การกำเนิดของโซเวียตรัสเซียได้สร้างแบบอย่างและแรงบันดาลใจมากมายให้กับประเทศเล็กๆ หลายแห่งซึ่งแต่เดิมถูกควบคุมโดยซาร์รัสเซีย
🥰สอง🥰
ในการประชุมรัฐสภาโซเวียตครั้งแรกในปี ค.ศ. 1922 เลนินละทิ้งประวัติศาสตร์ของซาร์รัสเซีย และเลือกที่จะไม่สถาปนารัฐที่มีหลายเชื้อชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กลับเลือกที่จะสร้างสถาปนาแนวร่วมของรัฐต่างๆแทน
ดังนั้นการดำรงอยู่ของซาร์รัสเซียที่มีหลายเชื้อชาติเป็นหนึ่งเดียวมันเป็นการดำรงเหลือคงอยู่แบบใด?
ในศตวรรษที่ 13 กองทัพม้าของ โกลเดนฮอร์ด (Golden Horde金帐汗国)ชาวมองโกเลียเหยียบย่ำเข้าไปในดินแดนที่ปัจจุบันคือรัสเซีย ดังนั้นในช่วงเวลาอันยาวนานที่ซาร์รัสเซียจึงถือเอาการได้โค่นล้มการปกครองของมองโกเลียเป็นเรื่องราวระดับชาติของพวกเขา
ในช่วงการกบฏอำนาจของอาณาเขตมอสโกค่อยๆเติบโต เริ่มค่อยๆพยายามแยกตัวออกจากการปกครองของมองโกล
ในปีค.ศ. 1480 อีวานที่ 3 วาซีลเยวิช(Ivan III Vasilyevich伊凡三世·瓦西里耶维奇) แห่งมอสโกได้นำประชาชนฟื้นฟูการปกครองที่เป็นอิสระอย่างเป็นทางการ
😎นั่นคือต่อมาเป็นซาร์รัสเซียนั่นเอง😎
หลังจากผ่านช่วงเวลาความเจริญขึ้นๆ ลงๆ เป็นเวลาหลายร้อยปี การถือกำเนิดของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)ได้นำพารัสเซียไปสู่จุดสูงสุดอีกครั้ง
สิ่งควรค่าที่จะกล่าวภึงคือ ในปีค.ศ. 1721 หลังจากที่จักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)นำประชาชนของเขาเอาชนะสวีเดน เขาก็ประสบความสำเร็จในการยืนหยัดอยู่ท่ามกลางประเทศมหาอำนาจของโลก
เพื่อบรรลุถึงความทะเยอทะยานที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขายิ่งขึ้น และยังเพื่อที่รักษาความมั่นคงตำแหน่งอำนาจของพวกเขา วุฒิสภารัสเซียจึงได้สวมมงกุฎแก่ปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)เป็นจักรพรรดิ
😎ตั้งแต่เวลานี้เป็นต้นไปที่ซาร์รัสเซียกลายเป็นจักรวรรดิรัสเซียอย่างเป็นทางการ😎
🤠กล่าวคือ ภายใต้ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์เช่นนี้ ซาร์รัสเซียไม่เคยได้เป็นพันธมิตรระหว่างประเทศ แต่เป็นประเทศที่มีหลายเชื้อชาติรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาโดยตลอด🤠
🥰สาม🥰
ปูตินเป็นคนเข้มแข็ง เขาสนับสนุนการเมืองที่เข้มแข็ง และแนวคิดเรื่องความสามัคคีนั้นหยั่งรากลึกอยู่ในกระดูกของเขา ในมุมมองของเขา ตัวเขาเองใช้เวลาทั้งชีวิตทำงานอย่างหนักเพื่อให้รัสเซียสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันและก้าวไปข้างหน้า
เขาชื่นชมการเมืองที่เข้มแข็งของสตาลิน และเขาไม่เห็นด้วยกับแนวทางการสร้างชาติของเลนิน
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเลนินได้สร้างพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นครั้งแรกที่ชาวสลาฟรู้สึกถึงความภาคภูมิใจและความภาคภูมิใจที่ได้ยืนอยู่ที่หัวสะพานของโลก
แต่ในทางกลับกัน และเป็นเพราะการรวมตัวแบบที่มีความหลวมตัวของพันธมิตรของประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งโดยเลนินนั่นเอง ทำให้หลายประเทศในปัจจุบันสามารถแยกตัวออกจากรัสเซียได้อย่างรวดเร็ว และแม้กระทั่งหันไปทางตะวันตกโดยสิ้นเชิง เช่น ยูเครนในปัจจุบัน
แต่เมื่อเรามองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ ก็ไม่ยากเลยที่จะเห็นว่า ไม่ใช่ว่าเลนินไม่ได้คิดถึงผลที่ตามมาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่พันธมิตรระดับชาติ หากเลนินมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกสองสามปี บางทีเขาอาจจะหลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได้
ในเวลานั้น สหภาพโซเวียต เชชเนีย ยูเครน และภูมิภาคอื่นๆ มักเรียกร้องเอกราช แม้จะต้องแลกกับการสู้รบก็ตาม
สหภาพโซเวียตซึ่งเพิ่งโผล่ออกมาจากควันแห่งความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่สามารถต้านทานวิกฤติการแยกตัวออกใหม่หรือจุดประกายสงครามอีกครั้งได้
เมื่อถูกบังคับกดดันจนไม่มีหนทางที่เหมาะสม เลนินทำได้แค่แนวทางสายเฉลี่ยปานกลางเท่านั้น นั่นก็คือในรูปแบบของพันธมิตรระดับชาติ ซึ่งก็คือการยึดรักษากลุ่มชาติพันธุ์และภูมิภาคที่มีอาการไม่สงบเหล่านี้ไว้อย่างมั่นคงให้อยู่ภายใต้เคียวสีแดงของสหภาพโซเวียต
🥰สี่🥰
การล่มสลายของสหภาพโซเวียตมีสาเหตุหลายประการ และไม่สามารถนำมาประกอบว่าเป็นสาเหตุอย่างง่ายๆเนื่องจากบุคคลคนเดียวหรือปัจจัยนอกอาณาเขตอื่นๆ ได้
😎ประการที่หนึ่ง คือ ความแข็งแกร่งของระบบ😎
: เลนินออกแบบพิมพ์เขียวอันยิ่งใหญ่สำหรับอนาคตของสหภาพโซเวียต แต่มันก็มีอุดมคติมากเกินไป สิ่งนี้ทำให้สตาลินถึงกับเยาะเย้ยดูแคลนสิ่งดังกล่าวเพื่อที่จะกลายเป็นมหาอำนาจที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในโลกอย่างรวดเร็ว
สตาลินเลือกที่จะให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก และกำลังคนและทรัพยากรทั้งหมดถูกบังคับให้เอียงเทไปด้านหนึ่ง
แม้ว่าการพัฒนาอย่างรวดเร็วจะเกิดขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ในระยะยาว สหภาพโซเวียตยักษ์ใหญ่ตนนี้เดินด้วยขาเดียวซึ่งไม่มั่นคง
ดังนั้น เมื่อกองกำลังอิทธิพลตะวันตกบุกเข้ามา เพียงแค่วิวัฒนาการอย่างสันติเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอที่จะทำลายขาอีกข้างของสหภาพโซเวียตและทำให้เป็นอัมพาตโดยสิ้นเชิง
😎ประการที่สอง คือ การสูญเสียการสำรวจตรวจสอบ😎
🤠เติ้งกง(邓公)เคยกล่าวไว้ว่า สังคมนิยมแท้จริงแล้วมีลักษณะเป็นอย่างไร?สหภาพโซเวียตทำสิ่งนี้มาหลายทศวรรษแล้ว ยังไม่เข้าใจว่าเป็นอย่างไร เพียงแค่ประโยคเดียว เขาก็เข้าถึงประเด็นสำคัญของสหภาพโซเวียตอย่างแม่นยำ🤠
ตั้งแต่สตาลินไปจนถึงครุสชอฟไปจนถึงเบรจเนฟและแม้แต่กอร์บาชอฟ พวกเขาต่างพยายามสำรวจว่าลัทธิสังคมนิยมในจินตนาการจะเป็นอย่างไร
แต่เมื่อได้เห็นลักษณะลีลาร้อยแปดพันเก้าต่างๆ ของชาติตะวันตกแล้ว พวกเขาก็เริ่มมีความสั่นคลอนอุดมคติและความเชื่อมั่นของตน เกี่ยวการสำรวจและปฏิบัติทางสังคมนิยมจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะออกนอกเส้นทาง
🤯โปรดติดตามบทความที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🤯
🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
0 Comments
0 Shares
427 Views
0 Reviews