สนามบินพาโร ภูฏาน ปัจจุบันมีเพียงนักบิน 50 คนทั่วโลกที่ได้รับการฝึกอบรมและได้ใบอนุญาตพิเศษให้นักบินสามารถ landing และ take off
สนามบินพาโร (Paro International Airport
เป็นสนามบินนานาชาติแห่งเดียวของประเทศภูฏาน อยู่ห่างจากตัวเมืองพาโรประมาณ 6 กิโลเมตร และห่างจากเมืองหลวงทิมพูประมาณ 54 กิโลเมตร
สนามบินนี้ตั้งอยู่ในหุบเขาลึกริมแม่น้ำพาโรชู (Paro Chhu) ที่ระดับความสูงประมาณ 7,332 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล หรือเกือบเท่ากับดอยอินทนนท์ที่สูง 8,415 ฟุต และมีความยาวเพียง 7,431 ฟุตเท่านั้น (สนามบินดอนเมืองมีรันเวย์ยาว 12,139 ฟุต)
สนามบินพาโรได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสนามบินที่ท้าทายและอันตรายที่สุดในโลก เนื่องจากล้อมรอบด้วยภูเขาสูงถึง 5,500 เมตร (18,000 ฟุต) ลักษณะภูมิประเทศที่ซับซ้อนและการไม่มีระบบนำร่องอัตโนมัติ (Instrument Landing System, ILS) ทำให้การบินขึ้นและลงต้องอาศัยการบินด้วยสายตา (Visual Flight Rules, VFR) เท่านั้น นักบินที่สามารถลงที่สนามบินนี้ได้ต้องผ่านการฝึกอบรมเฉพาะทางและได้รับใบอนุญาตพิเศษ โดยในปี 2024 มีนักบินเพียง 50 คนทั่วโลกที่ได้รับการรับรองให้ทำการบินลงที่สนามบินพาโร
การบินเข้าสู่สนามบินพาโรเป็นความท้าทายสำหรับนักบินและเป็นประสบการณ์ที่น่าจดจำอย่างที่สุดของผู้โดยสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเที่ยวบินประวัติศาสตร์นี้ นับว่าเป็นพระปรีชาสามารถอย่างยิ่งทางด้านการบินของทั้งสองพระองค์ และนับว่าเป็นโอกาสที่สำคัญและพิเศษที่สุดในชีวิตของผู้โดยสารเกียรติยศในครั้งนี้ครับ
พลอากาศเอก มนัท ชวนะประยูร
ผู้อำนวยการสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
เครดิตคลิปวิดีโอจากเพจ เชียร์ลุง2
https://web.facebook.com/share/v/1EKtinGXmz/
สนามบินพาโร (Paro International Airport
เป็นสนามบินนานาชาติแห่งเดียวของประเทศภูฏาน อยู่ห่างจากตัวเมืองพาโรประมาณ 6 กิโลเมตร และห่างจากเมืองหลวงทิมพูประมาณ 54 กิโลเมตร
สนามบินนี้ตั้งอยู่ในหุบเขาลึกริมแม่น้ำพาโรชู (Paro Chhu) ที่ระดับความสูงประมาณ 7,332 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล หรือเกือบเท่ากับดอยอินทนนท์ที่สูง 8,415 ฟุต และมีความยาวเพียง 7,431 ฟุตเท่านั้น (สนามบินดอนเมืองมีรันเวย์ยาว 12,139 ฟุต)
สนามบินพาโรได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสนามบินที่ท้าทายและอันตรายที่สุดในโลก เนื่องจากล้อมรอบด้วยภูเขาสูงถึง 5,500 เมตร (18,000 ฟุต) ลักษณะภูมิประเทศที่ซับซ้อนและการไม่มีระบบนำร่องอัตโนมัติ (Instrument Landing System, ILS) ทำให้การบินขึ้นและลงต้องอาศัยการบินด้วยสายตา (Visual Flight Rules, VFR) เท่านั้น นักบินที่สามารถลงที่สนามบินนี้ได้ต้องผ่านการฝึกอบรมเฉพาะทางและได้รับใบอนุญาตพิเศษ โดยในปี 2024 มีนักบินเพียง 50 คนทั่วโลกที่ได้รับการรับรองให้ทำการบินลงที่สนามบินพาโร
การบินเข้าสู่สนามบินพาโรเป็นความท้าทายสำหรับนักบินและเป็นประสบการณ์ที่น่าจดจำอย่างที่สุดของผู้โดยสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเที่ยวบินประวัติศาสตร์นี้ นับว่าเป็นพระปรีชาสามารถอย่างยิ่งทางด้านการบินของทั้งสองพระองค์ และนับว่าเป็นโอกาสที่สำคัญและพิเศษที่สุดในชีวิตของผู้โดยสารเกียรติยศในครั้งนี้ครับ
พลอากาศเอก มนัท ชวนะประยูร
ผู้อำนวยการสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
เครดิตคลิปวิดีโอจากเพจ เชียร์ลุง2
https://web.facebook.com/share/v/1EKtinGXmz/
สนามบินพาโร ภูฏาน ปัจจุบันมีเพียงนักบิน 50 คนทั่วโลกที่ได้รับการฝึกอบรมและได้ใบอนุญาตพิเศษให้นักบินสามารถ landing และ take off
สนามบินพาโร (Paro International Airport
เป็นสนามบินนานาชาติแห่งเดียวของประเทศภูฏาน อยู่ห่างจากตัวเมืองพาโรประมาณ 6 กิโลเมตร และห่างจากเมืองหลวงทิมพูประมาณ 54 กิโลเมตร
สนามบินนี้ตั้งอยู่ในหุบเขาลึกริมแม่น้ำพาโรชู (Paro Chhu) ที่ระดับความสูงประมาณ 7,332 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล หรือเกือบเท่ากับดอยอินทนนท์ที่สูง 8,415 ฟุต และมีความยาวเพียง 7,431 ฟุตเท่านั้น (สนามบินดอนเมืองมีรันเวย์ยาว 12,139 ฟุต)
สนามบินพาโรได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสนามบินที่ท้าทายและอันตรายที่สุดในโลก เนื่องจากล้อมรอบด้วยภูเขาสูงถึง 5,500 เมตร (18,000 ฟุต) ลักษณะภูมิประเทศที่ซับซ้อนและการไม่มีระบบนำร่องอัตโนมัติ (Instrument Landing System, ILS) ทำให้การบินขึ้นและลงต้องอาศัยการบินด้วยสายตา (Visual Flight Rules, VFR) เท่านั้น นักบินที่สามารถลงที่สนามบินนี้ได้ต้องผ่านการฝึกอบรมเฉพาะทางและได้รับใบอนุญาตพิเศษ โดยในปี 2024 มีนักบินเพียง 50 คนทั่วโลกที่ได้รับการรับรองให้ทำการบินลงที่สนามบินพาโร
การบินเข้าสู่สนามบินพาโรเป็นความท้าทายสำหรับนักบินและเป็นประสบการณ์ที่น่าจดจำอย่างที่สุดของผู้โดยสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเที่ยวบินประวัติศาสตร์นี้ นับว่าเป็นพระปรีชาสามารถอย่างยิ่งทางด้านการบินของทั้งสองพระองค์ และนับว่าเป็นโอกาสที่สำคัญและพิเศษที่สุดในชีวิตของผู้โดยสารเกียรติยศในครั้งนี้ครับ
พลอากาศเอก มนัท ชวนะประยูร
ผู้อำนวยการสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
เครดิตคลิปวิดีโอจากเพจ เชียร์ลุง2
https://web.facebook.com/share/v/1EKtinGXmz/

