รู้จักใช้ เข้าใจเงิน ตอนที่ 7 การสร้างความมั่นคงด้านการเงินแก่ครอบครัว
.
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และการเป็นครอบครัวที่อบอุ่นโยงใยกับการจัดการเรื่องการเงินอย่างไม่อ่จหลีกเลี่ยงได้ การที่คนสองคนมาร่วมชีวิตกันและมีลูก คือทางเลือกของชีวิตที่ทั้งสองได้ตัดสินใจแล้ว ดังนั้นจึงต้องร่วมกันรับผิดชอบให้ครอบครัวมีความสุข มีความเป็นปึกแผ่นด้านการเงิน ซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของทุกๆคนในครอบครัว
.
ในเบื้องแรก สามีภรรยาต้องพูดจาตกลงกันให้ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการเงินทองของครอบครัว เช่น จะรวมกระเป๋าและแยกกระเป๋ากันอย่างไร ค่าใช้จ่ายของครอบครัวจะรับผิดชอบกันอย่างไร ข้อพิจารณาในเรื่องนี้มีดังนี้
.
การตัดสินใจทางการเงินของพ่อแม่จะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน การซื้อสิ่งของที่มีราคาสูงและผูกมัดทางการเงินของครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นการซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน ซื้อที่ดิน ลงทุนธุรกิจ ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการปรึกษาหารือ และตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายทราบถึงภาระผูกพันที่จะเกิดขึ้น
.
การใช้จ่ายที่ต่างคนต่างทำ เช่น การใช้บัตรเครดิต การเล่นหุ้น เล่นแชร์ การร่วมลงทุนกับผู้อื่น ควรให้แต่ละฝ่ายได้รับรู้ เพราะเป็นบุคคลเดียวกันตามกฏหมาย (ในกรณีจดทะเบียนสมรส) ทั้งพ่อและแม่ต้องรับรู้ข้อมูลและรับผิดชอบสถานะการเงินของครอบครัวร่วมกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งใช้เงินอย่างเดียวโดยไม่ยอมรับรู้เรื่องรายได้ ไม่ยอมหรือไม่ร่วมปรึกษาหารือในการวางแผนการเงินของครอบครัว ความมั่นคงทางการเงินของครอบครัวก็เกิดขึ้นไม่ได้
.
การวางแผนการเงินของครอบครัวเป็นเรื่องสำคัญที่พ่อแม่จะต้องจัดไว้ในลำดับสำคัญสูงสุด การจดบันทึกข้อมูลการใช้จ่ายในแต่ละเดือนจะทำให้เห็นภาพรวมของการใช้จ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยนำไปสู่ความสามารถในการออมของครอบครัว ในการสร้างความมั้นคงด้านการเงินให้แก่ครอบครัว ประเด็นที่พึงพิจารณามีดังต่อไปนี้
.
1.ความมั่งคั่งและการมีรายได้ต่อช่วงเวลานั้นแตกต่างกัน ถ้าเปรียบเงินเหมือนน้ำที่อยู่ในถัง รายได้เสมือนน้ำที่ไหลออกจากก้นถังในช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าน้ำไหลเข้าถังมากกว่าน้ำที่ไหลออก ปริมาณน้ำในถังที่ได้สะสมมาก่อนหน้า ก็จะมากขึ้น แต่ถ้าน้ำไหลออกจากถังในช่วงเวลาหนึ่งมากกว่าน้ำไหลเข้า ดังนั้น ปริมาณน้ำในถังที่สะสมมาก่อนหน้าก็จะลดลง ความมั่งคั่งก็คือปริมาณน้ำที่อยู่ในถัง ส่วนรายได้ก็คือปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถึงในช่วงเวลานั้น
.
ความมั่งคั่งวัด ณ จุดหนึ่งของเวลา ส่วนการมีรายได้เป็นการวัดต่อช่วงเวลา เช่น บ้านมีมูลค่า 3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวามคม 2568 เป็นความมั่งคั่ง ส่วนรายได้ 5 หมื่นบาทต่อเดือนเป็นการมีรายได้
.
สองสิ่งนี้แตกต่างกัน ความมั่งคั่งมีนัยผูกพันกับอนาคตที่จะมีรายได้ให้ใช้ ส่วนการมีรายได้นั้นมีนัยผูกพันกับช่วงเวลาสั้นๆ บางครอบครัวอาจมีรายได้ต่อเดือนมาก แต่อาจไม่มีความมั่งคั่งก็เป็นได้ กล่าวคือ ถึงมีรายได้มากก็ใช้ไปจนหมด ไม่เหลือไว้สร้างความมั่งคั่งซึ่งจะทำให้มีรายได้เพิ่มเติมอีกเลยในอนาคต
.
การสร้างความมั่งคั่งของครอบครัวต้องเน้นไปที่การสะสมความมั่งคั่งในระยะยาว ในแต่ละเดือนจะต้องมีรายได้มากกว่าการใช้จ่าย ซึงหมายถึงมีเงินออมนั่นเอง จึงจะทำให้ความมั่งคั่งเพิ่มพูนขึ้นได้ และความมั่งคั่งนี้จะเป็นฐานของการหารายได้เพิ่มเติมอีกทางหนึ่งสำหรับครอบครัวนอกเหนือจากการออกแรงทำงาน
.
2.การใช้จ่ายเงินอย่างชาญฉลาด สอดคล้องกับเงินในกระเป๋าเป็นเรื่องสำคัญ สุภาษิต “การหาเงินเป็นเรื่องสำคัญ แต่การรู้จักใช้เงินนั้นสำคัญกว่า” เป็นจริงทุกยุคสมัย..... พ่อแม่จำนวนมากทำงานหนักหาเงินเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวโดยมีต้นทุนที่ต้องจ่าย นั่นคือมีเวลาให้ลูกน้อยลง ทำให้ความเอาใจใส่และผูกพันกับลูกลดลงน้อยลงไปด้วย
.
พ่อแม่เหล่านี้ มักเน้นการหารายได้แต่เพียงอย่างเดียวจนละเลยความสำคัญของการใช้จ่าย รายได้ส่วนหนึ่งมักถูกนำไปใช้จ่ายเพื่อชดเชยที่ใกล้ชิดลูกน้อยลง จนอาจทำให้เงินออมขนาดใหญ่ในแต่ละเดือนเกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้น การทุ่มเทหาเงินทองในกรณีนี้จึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวมากดังที่เข้าใจ หรือคาดหวัง บางครอบครัวกว่าจะรู้ตัวว่าไม่คุ้มก็ต่อเมื่อได้สูญเสียความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัวหรือสูญเสียลูกไปแล้ว
.
การทำงานหนักเพื่อหาเงินและใช้จ่ายเงินเพื่อดำรงชีพและหาความสุขไม่ใช่เรื่องเสียหาย เช่นเดียวกับการมีบัตรเครดิตและการกู้ยืม ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นบริการด้านการเงินที่มีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและช่วยให้บรรลุความต้องการในชีวิต ประเด็นสำคัญอยู่ที่ความเหมาะสมระหว่างสถานะทางการเงินของครอบครัวกับหนี้ที่ก่อขึ้น
.
3.จะไม่กู้เงินเพื่อสิ่งอื่นใด นอกจากที่อยู่อาศัย การศึกษา หรือเหตุฉุกเฉินด้านปัญหาสุขภาพ นี่คือความเชื่ออย่างนึงของคนในโลกตะวันตก ที่เข้าใจเรื่องการใช้เงินมายาวนานกว่าคนเอเชีย
.
การมีที่อยู่อาศัยของตนเอง เป็นพื้นฐานของความมั่งคงในชีวิต นักจิตวิทยาบอกว่า ลึกเข้าไปในใจของมนุษย์ทุกคน บ้านคือตัวแทนของแม่ เพราะบ้านป้องกัน แสงแดด ลมฝน และความหนาวเย็น ก่อให้เกิดความสุขสบายปลอดภัย เฉกเช่นเดียวกับครรภ์มารดา
.
การที่ครอบครัวจะมีบ้านเป็นของตนเองนั้นควรเป็นเป้าหมายแรกของพ่อแม่ เพราะทำให้ไม่ต้องจ่ายค่าเช่าบ้าน ซึ่งค่าเช่านี้อาจแปรเปลี่ยนเป็นเงินผ่อนซื้อบ้านในแต่ละเดือนได้ หากมีการกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านหลังเดียวกันนี้ ผู้จ่ายค่าเช่าทุกเดือนไม่มีความหวังว่าจะได้เป็นเจ้าของบ้านในวันข้างหน้า ซึ่งต่างจากผู้ซื้อบ้านที่มีโอกาสในวันข้างหน้าที่จะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอยู่อาศัยอีก เนื่องจากเป็นเจ้าของบ้านเอง นอกจากนี้ภายใต้กฏหมายไทย ไม่อาจใช้ค่าเช่าบ้านเป็นค่าลดหย่อนสำหรับการเสียถาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี แต่ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านสามารถหักเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 50,000 บาท
.
อย่างไรก็ดี การผ่อนซื้อบ้านเป็นภาระการเงินที่หนักหน่วง เพราะไม่เพียงแต่ต้องจ่ายเงินผ่อนชำระทุกเดือนเท่านั้น ยังมีระยะเวลาผูกพันอันยาวนานเกี่ยวข้องอีกด้วย การผ่อนบ้านจึงเป็นการตัดสินใจครั้งสำคัญของครอบครัว ซึ่งต้องคำนึงถึงราคาบ้าน ความสามารถในการผ่อนชำระแต่ละเดือน อัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันและอนาคต ความแน่นอนของรายได้ ระยะเวลาแห่งการผูกมัด ศักยภาพการเพิ่มขึ้นของมูลค่าบ้าน ตลอดจน “ความแพง” ของบ้านในภาพรวม
.
ยกตัวอย่าง “ความแพง” ของบ้านเพื่อประกอบการพิจารณา : ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนชำระ 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 1,322 บาท ดังนั้นต้องจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 158,640 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท (ถ้าผ่อนส่ง 20 ปี ต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 316,080 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท)
.
ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 5 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนส่ง 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 66,100 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 7.93 ล้านบาท และถ้าผ่อนส่ง 15 ปี ต้องชำระเดือนละ 53,750 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 9.68 ล้านบาท หรืออีกเกือบหนึ่งเท่าของราคาบ้าน
.
ถึงแม้การกู้ยืมจะทำให้บ้าน “แพง” ขึ้นมาก แต่ก็ทำให้สามารถมีบ้านอยู่อาศัยที่เป็นของตนเองในอนาคต และมูลค่าบ้านก็อาจเพิ่มขึ้นอีกด้วย ดังนั้นจึงควรใคร่ครวญทั้งในด้าน “ความแพง” อันเกิดจากดอกเบี้ย ความมีคุณค่าของบ้านในปัจจุบันและมูลค่าบ้านในอนาคตประกอบกัน
.
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และการเป็นครอบครัวที่อบอุ่นโยงใยกับการจัดการเรื่องการเงินอย่างไม่อ่จหลีกเลี่ยงได้ การที่คนสองคนมาร่วมชีวิตกันและมีลูก คือทางเลือกของชีวิตที่ทั้งสองได้ตัดสินใจแล้ว ดังนั้นจึงต้องร่วมกันรับผิดชอบให้ครอบครัวมีความสุข มีความเป็นปึกแผ่นด้านการเงิน ซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของทุกๆคนในครอบครัว
.
ในเบื้องแรก สามีภรรยาต้องพูดจาตกลงกันให้ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการเงินทองของครอบครัว เช่น จะรวมกระเป๋าและแยกกระเป๋ากันอย่างไร ค่าใช้จ่ายของครอบครัวจะรับผิดชอบกันอย่างไร ข้อพิจารณาในเรื่องนี้มีดังนี้
.
การตัดสินใจทางการเงินของพ่อแม่จะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน การซื้อสิ่งของที่มีราคาสูงและผูกมัดทางการเงินของครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นการซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน ซื้อที่ดิน ลงทุนธุรกิจ ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการปรึกษาหารือ และตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายทราบถึงภาระผูกพันที่จะเกิดขึ้น
.
การใช้จ่ายที่ต่างคนต่างทำ เช่น การใช้บัตรเครดิต การเล่นหุ้น เล่นแชร์ การร่วมลงทุนกับผู้อื่น ควรให้แต่ละฝ่ายได้รับรู้ เพราะเป็นบุคคลเดียวกันตามกฏหมาย (ในกรณีจดทะเบียนสมรส) ทั้งพ่อและแม่ต้องรับรู้ข้อมูลและรับผิดชอบสถานะการเงินของครอบครัวร่วมกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งใช้เงินอย่างเดียวโดยไม่ยอมรับรู้เรื่องรายได้ ไม่ยอมหรือไม่ร่วมปรึกษาหารือในการวางแผนการเงินของครอบครัว ความมั่นคงทางการเงินของครอบครัวก็เกิดขึ้นไม่ได้
.
การวางแผนการเงินของครอบครัวเป็นเรื่องสำคัญที่พ่อแม่จะต้องจัดไว้ในลำดับสำคัญสูงสุด การจดบันทึกข้อมูลการใช้จ่ายในแต่ละเดือนจะทำให้เห็นภาพรวมของการใช้จ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยนำไปสู่ความสามารถในการออมของครอบครัว ในการสร้างความมั้นคงด้านการเงินให้แก่ครอบครัว ประเด็นที่พึงพิจารณามีดังต่อไปนี้
.
1.ความมั่งคั่งและการมีรายได้ต่อช่วงเวลานั้นแตกต่างกัน ถ้าเปรียบเงินเหมือนน้ำที่อยู่ในถัง รายได้เสมือนน้ำที่ไหลออกจากก้นถังในช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าน้ำไหลเข้าถังมากกว่าน้ำที่ไหลออก ปริมาณน้ำในถังที่ได้สะสมมาก่อนหน้า ก็จะมากขึ้น แต่ถ้าน้ำไหลออกจากถังในช่วงเวลาหนึ่งมากกว่าน้ำไหลเข้า ดังนั้น ปริมาณน้ำในถังที่สะสมมาก่อนหน้าก็จะลดลง ความมั่งคั่งก็คือปริมาณน้ำที่อยู่ในถัง ส่วนรายได้ก็คือปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถึงในช่วงเวลานั้น
.
ความมั่งคั่งวัด ณ จุดหนึ่งของเวลา ส่วนการมีรายได้เป็นการวัดต่อช่วงเวลา เช่น บ้านมีมูลค่า 3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวามคม 2568 เป็นความมั่งคั่ง ส่วนรายได้ 5 หมื่นบาทต่อเดือนเป็นการมีรายได้
.
สองสิ่งนี้แตกต่างกัน ความมั่งคั่งมีนัยผูกพันกับอนาคตที่จะมีรายได้ให้ใช้ ส่วนการมีรายได้นั้นมีนัยผูกพันกับช่วงเวลาสั้นๆ บางครอบครัวอาจมีรายได้ต่อเดือนมาก แต่อาจไม่มีความมั่งคั่งก็เป็นได้ กล่าวคือ ถึงมีรายได้มากก็ใช้ไปจนหมด ไม่เหลือไว้สร้างความมั่งคั่งซึ่งจะทำให้มีรายได้เพิ่มเติมอีกเลยในอนาคต
.
การสร้างความมั่งคั่งของครอบครัวต้องเน้นไปที่การสะสมความมั่งคั่งในระยะยาว ในแต่ละเดือนจะต้องมีรายได้มากกว่าการใช้จ่าย ซึงหมายถึงมีเงินออมนั่นเอง จึงจะทำให้ความมั่งคั่งเพิ่มพูนขึ้นได้ และความมั่งคั่งนี้จะเป็นฐานของการหารายได้เพิ่มเติมอีกทางหนึ่งสำหรับครอบครัวนอกเหนือจากการออกแรงทำงาน
.
2.การใช้จ่ายเงินอย่างชาญฉลาด สอดคล้องกับเงินในกระเป๋าเป็นเรื่องสำคัญ สุภาษิต “การหาเงินเป็นเรื่องสำคัญ แต่การรู้จักใช้เงินนั้นสำคัญกว่า” เป็นจริงทุกยุคสมัย..... พ่อแม่จำนวนมากทำงานหนักหาเงินเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวโดยมีต้นทุนที่ต้องจ่าย นั่นคือมีเวลาให้ลูกน้อยลง ทำให้ความเอาใจใส่และผูกพันกับลูกลดลงน้อยลงไปด้วย
.
พ่อแม่เหล่านี้ มักเน้นการหารายได้แต่เพียงอย่างเดียวจนละเลยความสำคัญของการใช้จ่าย รายได้ส่วนหนึ่งมักถูกนำไปใช้จ่ายเพื่อชดเชยที่ใกล้ชิดลูกน้อยลง จนอาจทำให้เงินออมขนาดใหญ่ในแต่ละเดือนเกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้น การทุ่มเทหาเงินทองในกรณีนี้จึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวมากดังที่เข้าใจ หรือคาดหวัง บางครอบครัวกว่าจะรู้ตัวว่าไม่คุ้มก็ต่อเมื่อได้สูญเสียความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัวหรือสูญเสียลูกไปแล้ว
.
การทำงานหนักเพื่อหาเงินและใช้จ่ายเงินเพื่อดำรงชีพและหาความสุขไม่ใช่เรื่องเสียหาย เช่นเดียวกับการมีบัตรเครดิตและการกู้ยืม ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นบริการด้านการเงินที่มีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและช่วยให้บรรลุความต้องการในชีวิต ประเด็นสำคัญอยู่ที่ความเหมาะสมระหว่างสถานะทางการเงินของครอบครัวกับหนี้ที่ก่อขึ้น
.
3.จะไม่กู้เงินเพื่อสิ่งอื่นใด นอกจากที่อยู่อาศัย การศึกษา หรือเหตุฉุกเฉินด้านปัญหาสุขภาพ นี่คือความเชื่ออย่างนึงของคนในโลกตะวันตก ที่เข้าใจเรื่องการใช้เงินมายาวนานกว่าคนเอเชีย
.
การมีที่อยู่อาศัยของตนเอง เป็นพื้นฐานของความมั่งคงในชีวิต นักจิตวิทยาบอกว่า ลึกเข้าไปในใจของมนุษย์ทุกคน บ้านคือตัวแทนของแม่ เพราะบ้านป้องกัน แสงแดด ลมฝน และความหนาวเย็น ก่อให้เกิดความสุขสบายปลอดภัย เฉกเช่นเดียวกับครรภ์มารดา
.
การที่ครอบครัวจะมีบ้านเป็นของตนเองนั้นควรเป็นเป้าหมายแรกของพ่อแม่ เพราะทำให้ไม่ต้องจ่ายค่าเช่าบ้าน ซึ่งค่าเช่านี้อาจแปรเปลี่ยนเป็นเงินผ่อนซื้อบ้านในแต่ละเดือนได้ หากมีการกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านหลังเดียวกันนี้ ผู้จ่ายค่าเช่าทุกเดือนไม่มีความหวังว่าจะได้เป็นเจ้าของบ้านในวันข้างหน้า ซึ่งต่างจากผู้ซื้อบ้านที่มีโอกาสในวันข้างหน้าที่จะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอยู่อาศัยอีก เนื่องจากเป็นเจ้าของบ้านเอง นอกจากนี้ภายใต้กฏหมายไทย ไม่อาจใช้ค่าเช่าบ้านเป็นค่าลดหย่อนสำหรับการเสียถาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี แต่ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านสามารถหักเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 50,000 บาท
.
อย่างไรก็ดี การผ่อนซื้อบ้านเป็นภาระการเงินที่หนักหน่วง เพราะไม่เพียงแต่ต้องจ่ายเงินผ่อนชำระทุกเดือนเท่านั้น ยังมีระยะเวลาผูกพันอันยาวนานเกี่ยวข้องอีกด้วย การผ่อนบ้านจึงเป็นการตัดสินใจครั้งสำคัญของครอบครัว ซึ่งต้องคำนึงถึงราคาบ้าน ความสามารถในการผ่อนชำระแต่ละเดือน อัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันและอนาคต ความแน่นอนของรายได้ ระยะเวลาแห่งการผูกมัด ศักยภาพการเพิ่มขึ้นของมูลค่าบ้าน ตลอดจน “ความแพง” ของบ้านในภาพรวม
.
ยกตัวอย่าง “ความแพง” ของบ้านเพื่อประกอบการพิจารณา : ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนชำระ 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 1,322 บาท ดังนั้นต้องจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 158,640 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท (ถ้าผ่อนส่ง 20 ปี ต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 316,080 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท)
.
ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 5 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนส่ง 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 66,100 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 7.93 ล้านบาท และถ้าผ่อนส่ง 15 ปี ต้องชำระเดือนละ 53,750 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 9.68 ล้านบาท หรืออีกเกือบหนึ่งเท่าของราคาบ้าน
.
ถึงแม้การกู้ยืมจะทำให้บ้าน “แพง” ขึ้นมาก แต่ก็ทำให้สามารถมีบ้านอยู่อาศัยที่เป็นของตนเองในอนาคต และมูลค่าบ้านก็อาจเพิ่มขึ้นอีกด้วย ดังนั้นจึงควรใคร่ครวญทั้งในด้าน “ความแพง” อันเกิดจากดอกเบี้ย ความมีคุณค่าของบ้านในปัจจุบันและมูลค่าบ้านในอนาคตประกอบกัน
รู้จักใช้ เข้าใจเงิน ตอนที่ 7 การสร้างความมั่นคงด้านการเงินแก่ครอบครัว
.
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และการเป็นครอบครัวที่อบอุ่นโยงใยกับการจัดการเรื่องการเงินอย่างไม่อ่จหลีกเลี่ยงได้ การที่คนสองคนมาร่วมชีวิตกันและมีลูก คือทางเลือกของชีวิตที่ทั้งสองได้ตัดสินใจแล้ว ดังนั้นจึงต้องร่วมกันรับผิดชอบให้ครอบครัวมีความสุข มีความเป็นปึกแผ่นด้านการเงิน ซึ่งจะนำไปสู่ความมั่นคงของทุกๆคนในครอบครัว
.
ในเบื้องแรก สามีภรรยาต้องพูดจาตกลงกันให้ชัดเจนเกี่ยวกับการจัดการเงินทองของครอบครัว เช่น จะรวมกระเป๋าและแยกกระเป๋ากันอย่างไร ค่าใช้จ่ายของครอบครัวจะรับผิดชอบกันอย่างไร ข้อพิจารณาในเรื่องนี้มีดังนี้
.
การตัดสินใจทางการเงินของพ่อแม่จะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน การซื้อสิ่งของที่มีราคาสูงและผูกมัดทางการเงินของครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นการซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน ซื้อที่ดิน ลงทุนธุรกิจ ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการปรึกษาหารือ และตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายทราบถึงภาระผูกพันที่จะเกิดขึ้น
.
การใช้จ่ายที่ต่างคนต่างทำ เช่น การใช้บัตรเครดิต การเล่นหุ้น เล่นแชร์ การร่วมลงทุนกับผู้อื่น ควรให้แต่ละฝ่ายได้รับรู้ เพราะเป็นบุคคลเดียวกันตามกฏหมาย (ในกรณีจดทะเบียนสมรส) ทั้งพ่อและแม่ต้องรับรู้ข้อมูลและรับผิดชอบสถานะการเงินของครอบครัวร่วมกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งใช้เงินอย่างเดียวโดยไม่ยอมรับรู้เรื่องรายได้ ไม่ยอมหรือไม่ร่วมปรึกษาหารือในการวางแผนการเงินของครอบครัว ความมั่นคงทางการเงินของครอบครัวก็เกิดขึ้นไม่ได้
.
การวางแผนการเงินของครอบครัวเป็นเรื่องสำคัญที่พ่อแม่จะต้องจัดไว้ในลำดับสำคัญสูงสุด การจดบันทึกข้อมูลการใช้จ่ายในแต่ละเดือนจะทำให้เห็นภาพรวมของการใช้จ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยนำไปสู่ความสามารถในการออมของครอบครัว ในการสร้างความมั้นคงด้านการเงินให้แก่ครอบครัว ประเด็นที่พึงพิจารณามีดังต่อไปนี้
.
1.ความมั่งคั่งและการมีรายได้ต่อช่วงเวลานั้นแตกต่างกัน ถ้าเปรียบเงินเหมือนน้ำที่อยู่ในถัง รายได้เสมือนน้ำที่ไหลออกจากก้นถังในช่วงเวลาหนึ่ง ถ้าน้ำไหลเข้าถังมากกว่าน้ำที่ไหลออก ปริมาณน้ำในถังที่ได้สะสมมาก่อนหน้า ก็จะมากขึ้น แต่ถ้าน้ำไหลออกจากถังในช่วงเวลาหนึ่งมากกว่าน้ำไหลเข้า ดังนั้น ปริมาณน้ำในถังที่สะสมมาก่อนหน้าก็จะลดลง ความมั่งคั่งก็คือปริมาณน้ำที่อยู่ในถัง ส่วนรายได้ก็คือปริมาณน้ำที่ไหลเข้าถึงในช่วงเวลานั้น
.
ความมั่งคั่งวัด ณ จุดหนึ่งของเวลา ส่วนการมีรายได้เป็นการวัดต่อช่วงเวลา เช่น บ้านมีมูลค่า 3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวามคม 2568 เป็นความมั่งคั่ง ส่วนรายได้ 5 หมื่นบาทต่อเดือนเป็นการมีรายได้
.
สองสิ่งนี้แตกต่างกัน ความมั่งคั่งมีนัยผูกพันกับอนาคตที่จะมีรายได้ให้ใช้ ส่วนการมีรายได้นั้นมีนัยผูกพันกับช่วงเวลาสั้นๆ บางครอบครัวอาจมีรายได้ต่อเดือนมาก แต่อาจไม่มีความมั่งคั่งก็เป็นได้ กล่าวคือ ถึงมีรายได้มากก็ใช้ไปจนหมด ไม่เหลือไว้สร้างความมั่งคั่งซึ่งจะทำให้มีรายได้เพิ่มเติมอีกเลยในอนาคต
.
การสร้างความมั่งคั่งของครอบครัวต้องเน้นไปที่การสะสมความมั่งคั่งในระยะยาว ในแต่ละเดือนจะต้องมีรายได้มากกว่าการใช้จ่าย ซึงหมายถึงมีเงินออมนั่นเอง จึงจะทำให้ความมั่งคั่งเพิ่มพูนขึ้นได้ และความมั่งคั่งนี้จะเป็นฐานของการหารายได้เพิ่มเติมอีกทางหนึ่งสำหรับครอบครัวนอกเหนือจากการออกแรงทำงาน
.
2.การใช้จ่ายเงินอย่างชาญฉลาด สอดคล้องกับเงินในกระเป๋าเป็นเรื่องสำคัญ สุภาษิต “การหาเงินเป็นเรื่องสำคัญ แต่การรู้จักใช้เงินนั้นสำคัญกว่า” เป็นจริงทุกยุคสมัย..... พ่อแม่จำนวนมากทำงานหนักหาเงินเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวโดยมีต้นทุนที่ต้องจ่าย นั่นคือมีเวลาให้ลูกน้อยลง ทำให้ความเอาใจใส่และผูกพันกับลูกลดลงน้อยลงไปด้วย
.
พ่อแม่เหล่านี้ มักเน้นการหารายได้แต่เพียงอย่างเดียวจนละเลยความสำคัญของการใช้จ่าย รายได้ส่วนหนึ่งมักถูกนำไปใช้จ่ายเพื่อชดเชยที่ใกล้ชิดลูกน้อยลง จนอาจทำให้เงินออมขนาดใหญ่ในแต่ละเดือนเกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้น การทุ่มเทหาเงินทองในกรณีนี้จึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวมากดังที่เข้าใจ หรือคาดหวัง บางครอบครัวกว่าจะรู้ตัวว่าไม่คุ้มก็ต่อเมื่อได้สูญเสียความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัวหรือสูญเสียลูกไปแล้ว
.
การทำงานหนักเพื่อหาเงินและใช้จ่ายเงินเพื่อดำรงชีพและหาความสุขไม่ใช่เรื่องเสียหาย เช่นเดียวกับการมีบัตรเครดิตและการกู้ยืม ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นบริการด้านการเงินที่มีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและช่วยให้บรรลุความต้องการในชีวิต ประเด็นสำคัญอยู่ที่ความเหมาะสมระหว่างสถานะทางการเงินของครอบครัวกับหนี้ที่ก่อขึ้น
.
3.จะไม่กู้เงินเพื่อสิ่งอื่นใด นอกจากที่อยู่อาศัย การศึกษา หรือเหตุฉุกเฉินด้านปัญหาสุขภาพ นี่คือความเชื่ออย่างนึงของคนในโลกตะวันตก ที่เข้าใจเรื่องการใช้เงินมายาวนานกว่าคนเอเชีย
.
การมีที่อยู่อาศัยของตนเอง เป็นพื้นฐานของความมั่งคงในชีวิต นักจิตวิทยาบอกว่า ลึกเข้าไปในใจของมนุษย์ทุกคน บ้านคือตัวแทนของแม่ เพราะบ้านป้องกัน แสงแดด ลมฝน และความหนาวเย็น ก่อให้เกิดความสุขสบายปลอดภัย เฉกเช่นเดียวกับครรภ์มารดา
.
การที่ครอบครัวจะมีบ้านเป็นของตนเองนั้นควรเป็นเป้าหมายแรกของพ่อแม่ เพราะทำให้ไม่ต้องจ่ายค่าเช่าบ้าน ซึ่งค่าเช่านี้อาจแปรเปลี่ยนเป็นเงินผ่อนซื้อบ้านในแต่ละเดือนได้ หากมีการกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านหลังเดียวกันนี้ ผู้จ่ายค่าเช่าทุกเดือนไม่มีความหวังว่าจะได้เป็นเจ้าของบ้านในวันข้างหน้า ซึ่งต่างจากผู้ซื้อบ้านที่มีโอกาสในวันข้างหน้าที่จะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอยู่อาศัยอีก เนื่องจากเป็นเจ้าของบ้านเอง นอกจากนี้ภายใต้กฏหมายไทย ไม่อาจใช้ค่าเช่าบ้านเป็นค่าลดหย่อนสำหรับการเสียถาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี แต่ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อผ่อนซื้อบ้านสามารถหักเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกิน 50,000 บาท
.
อย่างไรก็ดี การผ่อนซื้อบ้านเป็นภาระการเงินที่หนักหน่วง เพราะไม่เพียงแต่ต้องจ่ายเงินผ่อนชำระทุกเดือนเท่านั้น ยังมีระยะเวลาผูกพันอันยาวนานเกี่ยวข้องอีกด้วย การผ่อนบ้านจึงเป็นการตัดสินใจครั้งสำคัญของครอบครัว ซึ่งต้องคำนึงถึงราคาบ้าน ความสามารถในการผ่อนชำระแต่ละเดือน อัตราดอกเบี้ยในปัจจุบันและอนาคต ความแน่นอนของรายได้ ระยะเวลาแห่งการผูกมัด ศักยภาพการเพิ่มขึ้นของมูลค่าบ้าน ตลอดจน “ความแพง” ของบ้านในภาพรวม
.
ยกตัวอย่าง “ความแพง” ของบ้านเพื่อประกอบการพิจารณา : ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนชำระ 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 1,322 บาท ดังนั้นต้องจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 158,640 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท (ถ้าผ่อนส่ง 20 ปี ต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 316,080 บาท สำหรับบ้านราคา 100,000 บาท)
.
ถ้ากู้เงินซื้อบ้านราคา 5 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 ผ่อนส่ง 10 ปี ต้องชำระเดือนละ 66,100 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้น 7.93 ล้านบาท และถ้าผ่อนส่ง 15 ปี ต้องชำระเดือนละ 53,750 บาท ดังนั้นต้องจ่ายรวมทั้งสิ้นประมาณ 9.68 ล้านบาท หรืออีกเกือบหนึ่งเท่าของราคาบ้าน
.
ถึงแม้การกู้ยืมจะทำให้บ้าน “แพง” ขึ้นมาก แต่ก็ทำให้สามารถมีบ้านอยู่อาศัยที่เป็นของตนเองในอนาคต และมูลค่าบ้านก็อาจเพิ่มขึ้นอีกด้วย ดังนั้นจึงควรใคร่ครวญทั้งในด้าน “ความแพง” อันเกิดจากดอกเบี้ย ความมีคุณค่าของบ้านในปัจจุบันและมูลค่าบ้านในอนาคตประกอบกัน
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
57 มุมมอง
0 รีวิว