แผนที่แสดงแนวการเกิดแผ่นดินไหวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระดับ 4.0 Magnitude ขึ้นไป ตั้งแต่ 1 มกราคม 1975 จนถึง 28 มีนาคม 2025 ซึ่งเป็นวันที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในเมียนมาวัดระดับได้ 7.7 Magnitude
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งของโลกที่มีแผ่นดินไหวบ่อยที่สุด โดยแผ่นเปลือกโลกหลัก เช่น แผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย (Eurasian Plate) และแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย (Australian Plate) เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่รุนแรง
เมื่อปี 2004 (2547) เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรง และคร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า 230,000 รายทั่วเอเชียและแอฟริกา
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย เป็นประเทศที่ต้องรับมือกับแผ่นดินไหวมากที่สุดต่อปี รองลงมาคือเมียนมา เนื่องจากรอยเลื่อนและร่องลึกจำนวนมากที่เคลื่อนตัวผ่านประเทศดังกล่าว
ในขณะที่ ประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม มักไม่ประสบกับแผ่นดินไหวรุนแรง ความตื่นตระหนกที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศเหล่านี้หลังจากแผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา เมื่อ 28 มีนาคม แสดงให้เห็นถึงประชาชนในประเทศกลุ่มนี้ไม่คุ้นเคยกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งของโลกที่มีแผ่นดินไหวบ่อยที่สุด โดยแผ่นเปลือกโลกหลัก เช่น แผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย (Eurasian Plate) และแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย (Australian Plate) เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่รุนแรง
เมื่อปี 2004 (2547) เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรง และคร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า 230,000 รายทั่วเอเชียและแอฟริกา
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย เป็นประเทศที่ต้องรับมือกับแผ่นดินไหวมากที่สุดต่อปี รองลงมาคือเมียนมา เนื่องจากรอยเลื่อนและร่องลึกจำนวนมากที่เคลื่อนตัวผ่านประเทศดังกล่าว
ในขณะที่ ประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม มักไม่ประสบกับแผ่นดินไหวรุนแรง ความตื่นตระหนกที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศเหล่านี้หลังจากแผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา เมื่อ 28 มีนาคม แสดงให้เห็นถึงประชาชนในประเทศกลุ่มนี้ไม่คุ้นเคยกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่
แผนที่แสดงแนวการเกิดแผ่นดินไหวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระดับ 4.0 Magnitude ขึ้นไป ตั้งแต่ 1 มกราคม 1975 จนถึง 28 มีนาคม 2025 ซึ่งเป็นวันที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในเมียนมาวัดระดับได้ 7.7 Magnitude
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งของโลกที่มีแผ่นดินไหวบ่อยที่สุด โดยแผ่นเปลือกโลกหลัก เช่น แผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย (Eurasian Plate) และแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย (Australian Plate) เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่รุนแรง
เมื่อปี 2004 (2547) เกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรง และคร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า 230,000 รายทั่วเอเชียและแอฟริกา
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย เป็นประเทศที่ต้องรับมือกับแผ่นดินไหวมากที่สุดต่อปี รองลงมาคือเมียนมา เนื่องจากรอยเลื่อนและร่องลึกจำนวนมากที่เคลื่อนตัวผ่านประเทศดังกล่าว
ในขณะที่ ประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม มักไม่ประสบกับแผ่นดินไหวรุนแรง ความตื่นตระหนกที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศเหล่านี้หลังจากแผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา เมื่อ 28 มีนาคม แสดงให้เห็นถึงประชาชนในประเทศกลุ่มนี้ไม่คุ้นเคยกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่
