อันดากู รัตนชาติแห่งพระพุทธศาสนา
หากกล่าวถึง อันดากู สำหรับสังคมของผู้ที่นับถือศาสนาพุทธชาวเมียนมาร์ แล้ว หมายถึงองค์ปฏิมากรรมขนาดเล็กซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีความสำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนา ทั้งๆ ที่คำว่าอันดากู เป็นชื่อของหินสบู่ชนิดหนึ่งที่มีแหล่งกำเนิดอยู่ในประเทศเมียนมาร์ แต่ด้วยความยาวนานของอายุศิลปะชนิดนี้ที่มีความต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันทำให้คำว่า อันดากู กลายเป็นสรรพนามของการเรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ชนิดหนึ่งในพระพุทธศาสนา และวัฒนธรรมการเรียกอันดากู ที่มีความหมายทั้งชื่อของวัสดุ และศิลปะเพื่อศาสนาพุทธที่เกี่ยวกับปรัชญาทางพุทธประวัติที่ถูกยอมรับโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักโบราณคดีทั่วโลกในทุกวันนี้
อันดากูเป็นปฏิมากรรมขนาดเล็กมาก สืบเนื่องมาจากการที่เป็นแผ่นหินธรรมชาติขนาดเล็กทั้งขาดซึ่งเทคโนโลยี่ในการขุดในสมัยนั้น จึงทำให้ขนาดของอันดากูจึงเป็นเอกลักษณ์อีกชนิดหนึ่งของศิลปะชนิดนี้ เพราะโดยปรกติปฏิมากรชาวเมียนมาร์นิยมการและสลักหินขนาดใหญ่อย่างที่เรามักจะพบเห็นพระพุทธรูปที่แกะจากหินชนิดอื่นๆ ที่มีขนาดใหญ่มากในเมียนมาร์ที่มีอยู่จำนวนมากตามสถานที่ต่างๆ แต่สำหรับชาวเมียนมาร์แล้ว อันดากูถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่กลับซ่อนความศรัทธาที่ยิ่งใหญ่ไว้ภายใน เหตุเพราะอันดากูถูกรังสรรค์ขึ้นจากปรัชญาที่ลุ่มลึกไม่เหมือนใคร หากผู้ใดเข้าถึงปรัชญาการสร้างนี้แล้ว เป็นธรรมดาที่จะต้องเกิดแรงศรัทธาที่มีต่อปฏิมากรรมชิ้นเล็กเหล่านี้ เพราะคำว่า อันดากู ในสังคมของชาวเมียนมาร์หมายถึงคำศักดิ์สิทธิ์คล้ายกับการเอ่ยพระนามขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หากกล่าวถึง อันดากู สำหรับสังคมของผู้ที่นับถือศาสนาพุทธชาวเมียนมาร์ แล้ว หมายถึงองค์ปฏิมากรรมขนาดเล็กซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีความสำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนา ทั้งๆ ที่คำว่าอันดากู เป็นชื่อของหินสบู่ชนิดหนึ่งที่มีแหล่งกำเนิดอยู่ในประเทศเมียนมาร์ แต่ด้วยความยาวนานของอายุศิลปะชนิดนี้ที่มีความต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันทำให้คำว่า อันดากู กลายเป็นสรรพนามของการเรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ชนิดหนึ่งในพระพุทธศาสนา และวัฒนธรรมการเรียกอันดากู ที่มีความหมายทั้งชื่อของวัสดุ และศิลปะเพื่อศาสนาพุทธที่เกี่ยวกับปรัชญาทางพุทธประวัติที่ถูกยอมรับโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักโบราณคดีทั่วโลกในทุกวันนี้
อันดากูเป็นปฏิมากรรมขนาดเล็กมาก สืบเนื่องมาจากการที่เป็นแผ่นหินธรรมชาติขนาดเล็กทั้งขาดซึ่งเทคโนโลยี่ในการขุดในสมัยนั้น จึงทำให้ขนาดของอันดากูจึงเป็นเอกลักษณ์อีกชนิดหนึ่งของศิลปะชนิดนี้ เพราะโดยปรกติปฏิมากรชาวเมียนมาร์นิยมการและสลักหินขนาดใหญ่อย่างที่เรามักจะพบเห็นพระพุทธรูปที่แกะจากหินชนิดอื่นๆ ที่มีขนาดใหญ่มากในเมียนมาร์ที่มีอยู่จำนวนมากตามสถานที่ต่างๆ แต่สำหรับชาวเมียนมาร์แล้ว อันดากูถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่กลับซ่อนความศรัทธาที่ยิ่งใหญ่ไว้ภายใน เหตุเพราะอันดากูถูกรังสรรค์ขึ้นจากปรัชญาที่ลุ่มลึกไม่เหมือนใคร หากผู้ใดเข้าถึงปรัชญาการสร้างนี้แล้ว เป็นธรรมดาที่จะต้องเกิดแรงศรัทธาที่มีต่อปฏิมากรรมชิ้นเล็กเหล่านี้ เพราะคำว่า อันดากู ในสังคมของชาวเมียนมาร์หมายถึงคำศักดิ์สิทธิ์คล้ายกับการเอ่ยพระนามขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
อันดากู รัตนชาติแห่งพระพุทธศาสนา
หากกล่าวถึง อันดากู สำหรับสังคมของผู้ที่นับถือศาสนาพุทธชาวเมียนมาร์ แล้ว หมายถึงองค์ปฏิมากรรมขนาดเล็กซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีความสำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนา ทั้งๆ ที่คำว่าอันดากู เป็นชื่อของหินสบู่ชนิดหนึ่งที่มีแหล่งกำเนิดอยู่ในประเทศเมียนมาร์ แต่ด้วยความยาวนานของอายุศิลปะชนิดนี้ที่มีความต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันทำให้คำว่า อันดากู กลายเป็นสรรพนามของการเรียกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ชนิดหนึ่งในพระพุทธศาสนา และวัฒนธรรมการเรียกอันดากู ที่มีความหมายทั้งชื่อของวัสดุ และศิลปะเพื่อศาสนาพุทธที่เกี่ยวกับปรัชญาทางพุทธประวัติที่ถูกยอมรับโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักโบราณคดีทั่วโลกในทุกวันนี้
อันดากูเป็นปฏิมากรรมขนาดเล็กมาก สืบเนื่องมาจากการที่เป็นแผ่นหินธรรมชาติขนาดเล็กทั้งขาดซึ่งเทคโนโลยี่ในการขุดในสมัยนั้น จึงทำให้ขนาดของอันดากูจึงเป็นเอกลักษณ์อีกชนิดหนึ่งของศิลปะชนิดนี้ เพราะโดยปรกติปฏิมากรชาวเมียนมาร์นิยมการและสลักหินขนาดใหญ่อย่างที่เรามักจะพบเห็นพระพุทธรูปที่แกะจากหินชนิดอื่นๆ ที่มีขนาดใหญ่มากในเมียนมาร์ที่มีอยู่จำนวนมากตามสถานที่ต่างๆ แต่สำหรับชาวเมียนมาร์แล้ว อันดากูถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่กลับซ่อนความศรัทธาที่ยิ่งใหญ่ไว้ภายใน เหตุเพราะอันดากูถูกรังสรรค์ขึ้นจากปรัชญาที่ลุ่มลึกไม่เหมือนใคร หากผู้ใดเข้าถึงปรัชญาการสร้างนี้แล้ว เป็นธรรมดาที่จะต้องเกิดแรงศรัทธาที่มีต่อปฏิมากรรมชิ้นเล็กเหล่านี้ เพราะคำว่า อันดากู ในสังคมของชาวเมียนมาร์หมายถึงคำศักดิ์สิทธิ์คล้ายกับการเอ่ยพระนามขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า