ประตูช้างเผือก
ประตูสำคัญที่สุดของเมืองเชียงใหม่ เริ่มสร้างในปี พศ.๑๘๓๙ ที่พญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่
วัตถุประสงค์หลักเพื่อป้องกันเมือง ประโยชน์ใช้สอยเป็นทางเข้า-ออกของเมือง เดิมประตูช้างเผือกชื่อ “ประตูหัวเวียง” แต่มาเรียกว่า ประตูช้างเผือก ในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา ที่ให้มีการสร้างช้างเผือก ด้านทิศเหนือของตัวเมือง ตั้งแต่นั้นมาก็เรียกประตูหัวเวียงว่า “ประตูช้างเผือก”
- สมัยพญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อสร้างเมืองเสร็จ เสด็จเข้าเมืองที่ประตูหัวเวียง
- พระยากาวิละ ยุคฟื้นเมืองเชียงใหม่ ก็เข้าเมืองครั้งแรกที่ประตูนี้
- ข้าราชการสายปกครอง เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ย้ายมาจังหวัดเชียงใหม่ ก็จะเข้าประตูเมืองทางทิศนี้ เพื่อความเป็นสิริมงคล
ป้อมประตูช้างเผือกเป็นป้อมที่อยู่กับกำแพง เป็นป้อมประตู 2 ชั้นไม่ใช่ ประตูชั้นเดียว
ปัจจุบันกำลังขุด ปรับปรุงสร้างรื้อฟื้นกลับคืนมาให้เหมือนเดิม.
ประตูสำคัญที่สุดของเมืองเชียงใหม่ เริ่มสร้างในปี พศ.๑๘๓๙ ที่พญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่
วัตถุประสงค์หลักเพื่อป้องกันเมือง ประโยชน์ใช้สอยเป็นทางเข้า-ออกของเมือง เดิมประตูช้างเผือกชื่อ “ประตูหัวเวียง” แต่มาเรียกว่า ประตูช้างเผือก ในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา ที่ให้มีการสร้างช้างเผือก ด้านทิศเหนือของตัวเมือง ตั้งแต่นั้นมาก็เรียกประตูหัวเวียงว่า “ประตูช้างเผือก”
- สมัยพญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อสร้างเมืองเสร็จ เสด็จเข้าเมืองที่ประตูหัวเวียง
- พระยากาวิละ ยุคฟื้นเมืองเชียงใหม่ ก็เข้าเมืองครั้งแรกที่ประตูนี้
- ข้าราชการสายปกครอง เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ย้ายมาจังหวัดเชียงใหม่ ก็จะเข้าประตูเมืองทางทิศนี้ เพื่อความเป็นสิริมงคล
ป้อมประตูช้างเผือกเป็นป้อมที่อยู่กับกำแพง เป็นป้อมประตู 2 ชั้นไม่ใช่ ประตูชั้นเดียว
ปัจจุบันกำลังขุด ปรับปรุงสร้างรื้อฟื้นกลับคืนมาให้เหมือนเดิม.
ประตูช้างเผือก
ประตูสำคัญที่สุดของเมืองเชียงใหม่ เริ่มสร้างในปี พศ.๑๘๓๙ ที่พญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่
วัตถุประสงค์หลักเพื่อป้องกันเมือง ประโยชน์ใช้สอยเป็นทางเข้า-ออกของเมือง เดิมประตูช้างเผือกชื่อ “ประตูหัวเวียง” แต่มาเรียกว่า ประตูช้างเผือก ในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา ที่ให้มีการสร้างช้างเผือก ด้านทิศเหนือของตัวเมือง ตั้งแต่นั้นมาก็เรียกประตูหัวเวียงว่า “ประตูช้างเผือก”
- สมัยพญามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อสร้างเมืองเสร็จ เสด็จเข้าเมืองที่ประตูหัวเวียง
- พระยากาวิละ ยุคฟื้นเมืองเชียงใหม่ ก็เข้าเมืองครั้งแรกที่ประตูนี้
- ข้าราชการสายปกครอง เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ย้ายมาจังหวัดเชียงใหม่ ก็จะเข้าประตูเมืองทางทิศนี้ เพื่อความเป็นสิริมงคล
ป้อมประตูช้างเผือกเป็นป้อมที่อยู่กับกำแพง เป็นป้อมประตู 2 ชั้นไม่ใช่ ประตูชั้นเดียว
ปัจจุบันกำลังขุด ปรับปรุงสร้างรื้อฟื้นกลับคืนมาให้เหมือนเดิม.
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
150 มุมมอง
0 รีวิว