PlanWise
PlanWise
PlanWise (แพลนไว้)
การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต
https://www.planwise.in.th
(PlanWise Insure Service)
  • 13 คนติดตามเรื่องนี้
  • 19 โพสต์
  • 18 รูปภาพ
  • 0 วิดีโอ
  • 1 รีวิว 5.0
  • อื่น ๆ
  • PlanWise Insure Service
โพสต์ที่ปักไว้
สวัสดีครับ ผมชื่อต้องนะครับ เป็นแอดมินเพจ PlanWise ครับ
เป็นเพจให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของประกันชีวิตและการวางแผนการเงิน
.
จุดเริ่มต้นของต้อง เริ่มต้นมาจากการที่เราชอบศึกษาเรื่องของการลงทุนมาก่อน ได้แก่ หุ้น กองทุน มาก่อน เมื่อได้ศึกษาเพิ่มเติมพบว่า การทำประกันเป็นเครื่องช่วยบริหารการจัดการความเสี่ยงในทรัพย์สินและรวมถึงชีวิตเราได้ จากจุดนั้นเองจึงทำให้ผมสนใจเรื่องประกันชีวิต และสมัครเป็นตัวแทนประกันชีวิต และการตัดสินใจในครั้งนี้ ผมก็เลือกที่จะสมัครตัวแทนของไทยประกันชีวิต(TLI)ครับ เพราะมีแรงบันดาลใจจากครอบครัวและน้าผู้ที่ดูแลแม่ต้องในเรื่องประกันชีวิตมาเป็นระยะเวลากว่าหลายสิบปี น้าท่านนี้เป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถ ดูแลและช่วยเหลือครอบครัวต้องเสมอมาจนวันนี้ ผมจึงสนใจและเป็นตัวแทนกับไทยประกันชีวิตครับ
.
ประวัติการศึกษาของต้อง ต้องจบการศึกษาด้านสาธารณสุข และนิติศาสตร์บัณฑิตจากรั้วรามคำแหงครับ ปัจจุบันก็ทำงานด้านสาธารณสุขในหน่วยงานของรัฐ พร้อมกันนี้ก็ยังเตรียมตัวสอบใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิตด้วยครับ
.
วัตถุประสงค์ในการสร้างเพจของต้องคือ การได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับความสำคัญของประกันชีวิต และการวางแผนทางการเงินอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจได้ตระหนักถึงเรื่องของการเงินกับชีวิตว่ามีความสัมพันธ์ และใกล้ตัวเป็นอย่างยิ่ง ในตอนแรกก็นึกอยู่นานว่าจะใช้ชื่อเพจว่ายังไงแต่ไปสะดุดตรงคำว่า "แพลนไว้" และชอบคำนี้จึงเป็นที่มาของชื่อเพจครับผม
.
สิ่งที่ผมอยากส่งต่อกับทุกคนคือ "ความรู้" ครับ เพราะหากเรารู้เราย่อมจะสามารถแก้ไขปัญหาในเรื่องของชีวิตได้ เรื่องอื่นก็เช่นกันรวมถึงเรื่องการวางแผนการเงินด้วย ติดปีกความรู้ทางการเงิน เพื่อสุขภาพที่ดีทางการเงิน ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการวางแผนชีวิตที่ดีและอย่าลืมติดตามเพจนี้ด้วยนะครับ ^^
.
ขอบคุณครับ
ต้อง PlanWise
เขียนเมื่อวันที่ : 17 ก.ย. 2567 (22.33 น.)
แก้ไขเพิ่มเติม : -
.
#PlanWise #PlanWiseOfficial #แพลนไว้

การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต
https://www.planwise.in.th
(PlanWise Insure Service)
สวัสดีครับ ผมชื่อต้องนะครับ เป็นแอดมินเพจ PlanWise ครับ เป็นเพจให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของประกันชีวิตและการวางแผนการเงิน . จุดเริ่มต้นของต้อง เริ่มต้นมาจากการที่เราชอบศึกษาเรื่องของการลงทุนมาก่อน ได้แก่ หุ้น กองทุน มาก่อน เมื่อได้ศึกษาเพิ่มเติมพบว่า การทำประกันเป็นเครื่องช่วยบริหารการจัดการความเสี่ยงในทรัพย์สินและรวมถึงชีวิตเราได้ จากจุดนั้นเองจึงทำให้ผมสนใจเรื่องประกันชีวิต และสมัครเป็นตัวแทนประกันชีวิต และการตัดสินใจในครั้งนี้ ผมก็เลือกที่จะสมัครตัวแทนของไทยประกันชีวิต(TLI)ครับ เพราะมีแรงบันดาลใจจากครอบครัวและน้าผู้ที่ดูแลแม่ต้องในเรื่องประกันชีวิตมาเป็นระยะเวลากว่าหลายสิบปี น้าท่านนี้เป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถ ดูแลและช่วยเหลือครอบครัวต้องเสมอมาจนวันนี้ ผมจึงสนใจและเป็นตัวแทนกับไทยประกันชีวิตครับ . ประวัติการศึกษาของต้อง ต้องจบการศึกษาด้านสาธารณสุข และนิติศาสตร์บัณฑิตจากรั้วรามคำแหงครับ ปัจจุบันก็ทำงานด้านสาธารณสุขในหน่วยงานของรัฐ พร้อมกันนี้ก็ยังเตรียมตัวสอบใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิตด้วยครับ . วัตถุประสงค์ในการสร้างเพจของต้องคือ การได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับความสำคัญของประกันชีวิต และการวางแผนทางการเงินอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจได้ตระหนักถึงเรื่องของการเงินกับชีวิตว่ามีความสัมพันธ์ และใกล้ตัวเป็นอย่างยิ่ง ในตอนแรกก็นึกอยู่นานว่าจะใช้ชื่อเพจว่ายังไงแต่ไปสะดุดตรงคำว่า "แพลนไว้" และชอบคำนี้จึงเป็นที่มาของชื่อเพจครับผม . สิ่งที่ผมอยากส่งต่อกับทุกคนคือ "ความรู้" ครับ เพราะหากเรารู้เราย่อมจะสามารถแก้ไขปัญหาในเรื่องของชีวิตได้ เรื่องอื่นก็เช่นกันรวมถึงเรื่องการวางแผนการเงินด้วย ติดปีกความรู้ทางการเงิน เพื่อสุขภาพที่ดีทางการเงิน ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการวางแผนชีวิตที่ดีและอย่าลืมติดตามเพจนี้ด้วยนะครับ ^^ . ขอบคุณครับ ต้อง PlanWise เขียนเมื่อวันที่ : 17 ก.ย. 2567 (22.33 น.) แก้ไขเพิ่มเติม : - . #PlanWise #PlanWiseOfficial #แพลนไว้ การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต https://www.planwise.in.th (PlanWise Insure Service)
Like
1
0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1101 มุมมอง 0 รีวิว
อัปเดตล่าสุด
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • โครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยผู้ประกันตน 2567 เริ่ม 1 พ.ย. 2567 กู้ได้ 2 ล้าน
    .
    วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางมารศรี ใจรังษี ผู้ตรวจราชการกระทรวงแรงงาน รักษาราชการแทนเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม เปิดเผยว่า ตามที่รัฐบาลและกระทรวงแรงงาน มีนโยบายให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างหลักประกันความมั่นคงให้แก่ผู้ใช้แรงงาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดียิ่งขึ้น โดยนายพิพัฒน์ รัชกิจประการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ได้เร่งผลักดันนโยบายให้สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน จับมือกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ กระทรวงการคลัง จัดโครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน ปี 2567 เพื่อเป้าหมาย “ทำให้คนไทยมีบ้าน” โดยจะช่วยให้ผู้ประกันตนทุกคนมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ นั้น
    .
    สำนักงานประกันสังคม จึงได้นำโครงการดังกล่าว เสนอคณะกรรมการประกันสังคม และคณะกรรมการฯ มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 ให้ดำเนิน "โครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน ปี 2567” สามารถขอสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ภายในวงเงินจำนวนไม่เกิน 10,000 ล้านบาท ให้กับผู้ประกันตนทั้งมาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 สำหรับผู้ประกันตนมาตรา 40 ต้องส่งเงินสมทบต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 ปี ก่อนเดือนที่ขอใช้สิทธิ
    .
    โดยมีวัตถุประสงค์
    - เพื่อซื้อที่อยู่อาศัย
    - เพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย
    - เพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างที่อยู่อาศัย
    ทั้งนี้ ผู้ประกันตนที่เข้าร่วมโครงการจะต้องไม่มีภาระผ่อนที่อยู่อาศัยอยู่ในปัจจุบัน โดยสำนักงานประกันสังคมได้ลงนามบันทึกข้อตกลงกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2567 เพื่อดำเนินโครงการดังกล่าว ผู้ประกันตนสามารถขอสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ร้อยละ 1.59 ต่อปี คงที่เป็นระยะเวลา 5 ปี และในปีที่ 6 – 8 อัตราดอกเบี้ย MRR–ร้อยละ 2 ต่อปี (MRR–2%) และตั้งแต่ปีที่ 9 เป็นต้นไป อัตราดอกเบี้ย MRR–ร้อยละ 0.5 ต่อปี (MRR–0.5%) โดยผู้ประกันตนจะได้รับสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำไม่เกินรายละ 2,000,000 บาท
    .
    ผู้ประกันตนที่สนใจเข้าร่วมโครงการสินเชื่อฯ ดาวน์โหลด Application SSO Plus เพื่อขอหนังสือรับรองสถานะความเป็นผู้ประกันตน ได้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป เพื่อนำเอกสารดังกล่าวไปยื่นประกอบการขอสินเชื่อฯ
    .
    ที่มา: สำนักงานประกันสังคม
    .
    - https://www.sso.go.th/wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/e1fb643574d4535064f0e92a999729f9.pdf
    .
    #PlanWise
    โครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยผู้ประกันตน 2567 เริ่ม 1 พ.ย. 2567 กู้ได้ 2 ล้าน . วันที่ 31 ตุลาคม 2567 นางมารศรี ใจรังษี ผู้ตรวจราชการกระทรวงแรงงาน รักษาราชการแทนเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม เปิดเผยว่า ตามที่รัฐบาลและกระทรวงแรงงาน มีนโยบายให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างหลักประกันความมั่นคงให้แก่ผู้ใช้แรงงาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดียิ่งขึ้น โดยนายพิพัฒน์ รัชกิจประการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ได้เร่งผลักดันนโยบายให้สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน จับมือกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ กระทรวงการคลัง จัดโครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน ปี 2567 เพื่อเป้าหมาย “ทำให้คนไทยมีบ้าน” โดยจะช่วยให้ผู้ประกันตนทุกคนมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ นั้น . สำนักงานประกันสังคม จึงได้นำโครงการดังกล่าว เสนอคณะกรรมการประกันสังคม และคณะกรรมการฯ มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 ให้ดำเนิน "โครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน ปี 2567” สามารถขอสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ภายในวงเงินจำนวนไม่เกิน 10,000 ล้านบาท ให้กับผู้ประกันตนทั้งมาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 สำหรับผู้ประกันตนมาตรา 40 ต้องส่งเงินสมทบต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 ปี ก่อนเดือนที่ขอใช้สิทธิ . โดยมีวัตถุประสงค์ - เพื่อซื้อที่อยู่อาศัย - เพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย - เพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างที่อยู่อาศัย ทั้งนี้ ผู้ประกันตนที่เข้าร่วมโครงการจะต้องไม่มีภาระผ่อนที่อยู่อาศัยอยู่ในปัจจุบัน โดยสำนักงานประกันสังคมได้ลงนามบันทึกข้อตกลงกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2567 เพื่อดำเนินโครงการดังกล่าว ผู้ประกันตนสามารถขอสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ร้อยละ 1.59 ต่อปี คงที่เป็นระยะเวลา 5 ปี และในปีที่ 6 – 8 อัตราดอกเบี้ย MRR–ร้อยละ 2 ต่อปี (MRR–2%) และตั้งแต่ปีที่ 9 เป็นต้นไป อัตราดอกเบี้ย MRR–ร้อยละ 0.5 ต่อปี (MRR–0.5%) โดยผู้ประกันตนจะได้รับสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำไม่เกินรายละ 2,000,000 บาท . ผู้ประกันตนที่สนใจเข้าร่วมโครงการสินเชื่อฯ ดาวน์โหลด Application SSO Plus เพื่อขอหนังสือรับรองสถานะความเป็นผู้ประกันตน ได้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป เพื่อนำเอกสารดังกล่าวไปยื่นประกอบการขอสินเชื่อฯ . ที่มา: สำนักงานประกันสังคม . - https://www.sso.go.th/wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/e1fb643574d4535064f0e92a999729f9.pdf . #PlanWise
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 375 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 87 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • ธ สถิตในดวงในตราบนิจนิรันดร์
    ๑๓ ตุลาคม น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
    พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
    ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ก่อตั้งและแอดมินเพจ PlanWise
    .
    #PlanWise
    ธ สถิตในดวงในตราบนิจนิรันดร์ ๑๓ ตุลาคม น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ก่อตั้งและแอดมินเพจ PlanWise . #PlanWise
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 143 มุมมอง 0 รีวิว
  • การบริหาร "เงินให้งอกเงย" สู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ "ไม่จำเป็นต้องซับซ้อน" แค่ปฏิบัติตามกฎง่ายๆ 6 ข้อเท่านั้น! ตอบโจย์ทุกไลฟ์สไตล์ไม่ว่าคุณจะมีรายได้เท่าไหร่ หรือมีการใช้ชีวิตแบบไหน กฎเหล่านี้จะช่วยให้คุณวางแผนการเงินของคุณได้ดีขึ้น

    —————————

    🔥 มาร่วมฟังมุมมองพร้อมเปิดโอกาสการลงทุนของคุณไปกับ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร เจ้าของฉายา "Warren Buffett เมืองไทย" ได้ในงาน Follow The Future 2024 - Unravel The New Era พร้อมพบกับวิทยากรระดับประเทศอีกมากมาย อาทิ "ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย" อดีตรองนายกรัฐมนตรี, "บรรยง พงษ์พานิช" นักการเงินชั้นแนวหน้าผู้ผ่านทุกสนามธุรกิจการเงินระดับโลก

    #ห้ามพลาดแล้วพบกันวันที่ 30 พ.ย. 2567 ณ สมาคมราชกรีฑาสโมสร ร่วมพบปะเพื่อนนักลงทุน ทานอาหารเย็นและ Networking 💥 เปิดขายบัตร Early Bird ราคาพิเศษแล้ววันนี้!! รายละเอียดซื้อบัตร ใน Comment

    —————————

    🔵 1) กฎ 30%

    หมายถึงควร "ใช้จ่ายเพียง 30% ของวงเงินบัตรเครดิต" เช่น วงเงิน 100,000 บาท ไม่ควรใช้จ่ายเกิน 30,000 บาท

    —————————

    🔵 2) กฎ 70%

    วางแผนในช่วงเกษียณอายุด้วยการหารายได้ “70% ของรายได้ต่อเดือน” เช่น ปัจจุบันรายได้อยู่ที่ 100,000 บาท ดังนั้นช่วงเกษียณอายุควรหารายได้ทดแทนประมาณ 70% หรือ 70,000 บาท

    —————————

    🔵 3) กฎ 15%

    “ออมอย่างน้อย 15% ของรายได้” เพื่อในช่วงเกษียณอายุ เช่น หากมีรายได้ 100,000 บาท/เดือน ควรออม 15,000 บาท/เดือน

    —————————

    🔵 4) กฎ 4%

    ศึกษาการลงทุนที่หลากหลายรูปแบบ และควรลงทุนอย่างน้อย 4% ในแต่ละประเภทการลงทุน เช่น งบประมาณการลงทุนรวมทั้งหมด 100,000 บาท ควรแบ่งลงทุน 4,000 บาทสำหรับหุ้น 1 ตัว และลงทุนในกองทุน 4,000 บาท เป็นต้น

    —————————

    🔵 5) กฎของ 115

    นอกจากศึกษาการลงทุนแล้ว ควรคำนวณระยะเวลาที่การลงทุนของเราจะได้รับผลตอบแทนเป็น “สามเท่า” ด้วยการใช้เลข 115 หารด้วยอัตราผลตอบแทน เช่น ผลตอบแทน 10% ต่อปี จะได้รับผลตอบสามเท่า เมื่อครบ 11.5 ปี โดยคำนวณจาก 115/10 นั่นเอง

    —————————

    🔵 6) กฎ 24 ชั่วโมง

    ก่อนจะตัดสินใจซื้อของที่มีราคาสูง “ให้รอ 1 วันหรือ 24 ชั่วโมงก่อนค่อยตัดสินใจ” เพื่อให้เราทบทวนว่าสิ่งนั้นจำเป็นกับเรามากน้อยแค่ไหน

    —————————

    การบริหารการเงินที่ยั่งยืน "ไม่ได้ขึ้นอยู่กับแค่รายได้ที่คุณมี" แต่ขึ้นอยู่กับวินัยและการวางแผนที่รอบคอบ กฎทั้ง 6 ข้อที่แนะนำ ไม่ว่าคุณจะจัดการรายรับ รายจ่าย การออม หรือการลงทุนอย่างไร ก็สามารถนำไปปรับใช้ให้เข้ากับไลฟ์สไตล์และเป้าหมายทางการเงินของคุณได้ และการวางแผนที่ดีตั้งแต่วันนี้ จะช่วยสร้างความมั่นคงทางการเงิน ทั้งในปัจจุบันและอนาคตให้ดียิ่งขึ้นอย่างแน่นอน...

    Reference : BusinessTomorrow
    การบริหาร "เงินให้งอกเงย" สู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ "ไม่จำเป็นต้องซับซ้อน" แค่ปฏิบัติตามกฎง่ายๆ 6 ข้อเท่านั้น! ตอบโจย์ทุกไลฟ์สไตล์ไม่ว่าคุณจะมีรายได้เท่าไหร่ หรือมีการใช้ชีวิตแบบไหน กฎเหล่านี้จะช่วยให้คุณวางแผนการเงินของคุณได้ดีขึ้น ————————— 🔥 มาร่วมฟังมุมมองพร้อมเปิดโอกาสการลงทุนของคุณไปกับ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร เจ้าของฉายา "Warren Buffett เมืองไทย" ได้ในงาน Follow The Future 2024 - Unravel The New Era พร้อมพบกับวิทยากรระดับประเทศอีกมากมาย อาทิ "ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย" อดีตรองนายกรัฐมนตรี, "บรรยง พงษ์พานิช" นักการเงินชั้นแนวหน้าผู้ผ่านทุกสนามธุรกิจการเงินระดับโลก #ห้ามพลาดแล้วพบกันวันที่ 30 พ.ย. 2567 ณ สมาคมราชกรีฑาสโมสร ร่วมพบปะเพื่อนนักลงทุน ทานอาหารเย็นและ Networking 💥 เปิดขายบัตร Early Bird ราคาพิเศษแล้ววันนี้!! รายละเอียดซื้อบัตร ใน Comment ————————— 🔵 1) กฎ 30% หมายถึงควร "ใช้จ่ายเพียง 30% ของวงเงินบัตรเครดิต" เช่น วงเงิน 100,000 บาท ไม่ควรใช้จ่ายเกิน 30,000 บาท ————————— 🔵 2) กฎ 70% วางแผนในช่วงเกษียณอายุด้วยการหารายได้ “70% ของรายได้ต่อเดือน” เช่น ปัจจุบันรายได้อยู่ที่ 100,000 บาท ดังนั้นช่วงเกษียณอายุควรหารายได้ทดแทนประมาณ 70% หรือ 70,000 บาท ————————— 🔵 3) กฎ 15% “ออมอย่างน้อย 15% ของรายได้” เพื่อในช่วงเกษียณอายุ เช่น หากมีรายได้ 100,000 บาท/เดือน ควรออม 15,000 บาท/เดือน ————————— 🔵 4) กฎ 4% ศึกษาการลงทุนที่หลากหลายรูปแบบ และควรลงทุนอย่างน้อย 4% ในแต่ละประเภทการลงทุน เช่น งบประมาณการลงทุนรวมทั้งหมด 100,000 บาท ควรแบ่งลงทุน 4,000 บาทสำหรับหุ้น 1 ตัว และลงทุนในกองทุน 4,000 บาท เป็นต้น ————————— 🔵 5) กฎของ 115 นอกจากศึกษาการลงทุนแล้ว ควรคำนวณระยะเวลาที่การลงทุนของเราจะได้รับผลตอบแทนเป็น “สามเท่า” ด้วยการใช้เลข 115 หารด้วยอัตราผลตอบแทน เช่น ผลตอบแทน 10% ต่อปี จะได้รับผลตอบสามเท่า เมื่อครบ 11.5 ปี โดยคำนวณจาก 115/10 นั่นเอง ————————— 🔵 6) กฎ 24 ชั่วโมง ก่อนจะตัดสินใจซื้อของที่มีราคาสูง “ให้รอ 1 วันหรือ 24 ชั่วโมงก่อนค่อยตัดสินใจ” เพื่อให้เราทบทวนว่าสิ่งนั้นจำเป็นกับเรามากน้อยแค่ไหน ————————— การบริหารการเงินที่ยั่งยืน "ไม่ได้ขึ้นอยู่กับแค่รายได้ที่คุณมี" แต่ขึ้นอยู่กับวินัยและการวางแผนที่รอบคอบ กฎทั้ง 6 ข้อที่แนะนำ ไม่ว่าคุณจะจัดการรายรับ รายจ่าย การออม หรือการลงทุนอย่างไร ก็สามารถนำไปปรับใช้ให้เข้ากับไลฟ์สไตล์และเป้าหมายทางการเงินของคุณได้ และการวางแผนที่ดีตั้งแต่วันนี้ จะช่วยสร้างความมั่นคงทางการเงิน ทั้งในปัจจุบันและอนาคตให้ดียิ่งขึ้นอย่างแน่นอน... Reference : BusinessTomorrow
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 437 มุมมอง 0 รีวิว
  • เลือกประกันชีวิตแบบไหนดี

    ไม่ว่าคุณจะเลือกอะไรในชีวิตก็ต้องดูให้ดีและเหมาะกับตัวเองที่สุด "ประกันชีวิต" ก็เช่นกัน
    มาดูประกันชีวิต 4 แบบพื้นฐานที่คุณต้องรู้ และเลือกให้เหมาะกับตัวเอง

    แบบชั่วระยะเวลา มีทั้งระยะสั้น ระยะยาว จ่ายเงินคืนให้แก่ผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอาประกันเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กำหนด เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความคุ้มครองการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร หรือคุ้มครองหนี้สิน
    แบบตลอดชีพ คุ้มครองตลอดชีพ โดยจะจ่ายเงินคืนให้ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันเสียชีวิต หรือจ่ายเงินคืนให้ผู้เอาประกันเมื่อผู้เอาประกันมีอายุครบ 99 ปี เหมาะสำหรับผู้ที่เป็นเสาหลักของครอบครัว เพื่อเป็นมรดกให้ลูกหลาน
    แบบสะสมทรัพย์ ลูกผสมระหว่างการคุ้มครองชีวิตและการออมเงิน จ่ายเงินคืนให้ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันเสียชีวิต หรือจ่ายเงินคืนให้ผู้เอาประกันเมื่ออยู่จนครบสัญญา เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการออมเงินระยะยาว
    แบบเงินได้ประจำ บริษัทประกันจะจ่ายเงินให้เป็นงวด ๆ จนกว่าผู้เอาประกันจะเสียชีวิต เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการสะสมเงินไว้ใช้จ่ายหลังเกษียณอายุ
    นอกจากนี้ ยังมี 2 สัญญาเพิ่มเติมอย่าง...

    ประกันอุบัติเหตุ เป็นสัญญาเพิ่มเติมเพื่อคุ้มครองความสูญเสียทางร่างกาย (บาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ พิการ เสียชีวิต) ในกรณีที่เกิดจากอุบัติเหตุเท่านั้น
    ประกันสุขภาพ เป็นสัญญาเพิ่มเติมเพื่อผลประโยชน์ด้านสุขภาพ ค่าเบี้ยฯ จะขึ้นอยู่กับวงเงินประกัน อายุ เพศ สุขภาพ หรือโรคประจำตัว

    https://www.set.or.th/th/education-research/education/happymoney/knowledge/infographic/19-how-to-choose-a-life-insurance-plan
    เลือกประกันชีวิตแบบไหนดี ไม่ว่าคุณจะเลือกอะไรในชีวิตก็ต้องดูให้ดีและเหมาะกับตัวเองที่สุด "ประกันชีวิต" ก็เช่นกัน มาดูประกันชีวิต 4 แบบพื้นฐานที่คุณต้องรู้ และเลือกให้เหมาะกับตัวเอง แบบชั่วระยะเวลา มีทั้งระยะสั้น ระยะยาว จ่ายเงินคืนให้แก่ผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอาประกันเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กำหนด เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความคุ้มครองการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร หรือคุ้มครองหนี้สิน แบบตลอดชีพ คุ้มครองตลอดชีพ โดยจะจ่ายเงินคืนให้ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันเสียชีวิต หรือจ่ายเงินคืนให้ผู้เอาประกันเมื่อผู้เอาประกันมีอายุครบ 99 ปี เหมาะสำหรับผู้ที่เป็นเสาหลักของครอบครัว เพื่อเป็นมรดกให้ลูกหลาน แบบสะสมทรัพย์ ลูกผสมระหว่างการคุ้มครองชีวิตและการออมเงิน จ่ายเงินคืนให้ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันเสียชีวิต หรือจ่ายเงินคืนให้ผู้เอาประกันเมื่ออยู่จนครบสัญญา เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการออมเงินระยะยาว แบบเงินได้ประจำ บริษัทประกันจะจ่ายเงินให้เป็นงวด ๆ จนกว่าผู้เอาประกันจะเสียชีวิต เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการสะสมเงินไว้ใช้จ่ายหลังเกษียณอายุ นอกจากนี้ ยังมี 2 สัญญาเพิ่มเติมอย่าง... ประกันอุบัติเหตุ เป็นสัญญาเพิ่มเติมเพื่อคุ้มครองความสูญเสียทางร่างกาย (บาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ พิการ เสียชีวิต) ในกรณีที่เกิดจากอุบัติเหตุเท่านั้น ประกันสุขภาพ เป็นสัญญาเพิ่มเติมเพื่อผลประโยชน์ด้านสุขภาพ ค่าเบี้ยฯ จะขึ้นอยู่กับวงเงินประกัน อายุ เพศ สุขภาพ หรือโรคประจำตัว https://www.set.or.th/th/education-research/education/happymoney/knowledge/infographic/19-how-to-choose-a-life-insurance-plan
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 379 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ "PlanWise" นะครับ
    ตอนนี้สามารถเข้าไปใช้งานได้แล้วครับ ที่..
    .
    https://www.planwise.in.th/
    .
    #PlanWise
    เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ "PlanWise" นะครับ ตอนนี้สามารถเข้าไปใช้งานได้แล้วครับ ที่.. . https://www.planwise.in.th/ . #PlanWise
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 123 มุมมอง 0 รีวิว
  • รวม 25 หนังสือ 📚 ที่จะเปลี่ยนชีวิตของคุณในแต่ละด้าน
    ไม่ว่าจะเป็น 👉 ความคิด นิสัย จิตใจ การสื่อสาร และการเงิน
    .
    📚 เปลี่ยนความคิด
    👉 หนังสือ THINK AGAIN คิดแล้ว, คิดอีก
    👉 หนังสือ 101 บทความเปลี่ยนชีวิตที่จะเปลี่ยนวิธีคิดคุณ (101 Essays That Will Change The Way You Think)
    👉 หนังสือ ใช้ความคิดเอาชนะโชคชะตา (Mindset)
    👉 หนังสือ คิด, เร็วและช้า Thinking, Fast and Slow
    👉 หนังสือ ศิลปะแห่งการคิดไขว้ Crossover Creativity
    .
    📚 เปลี่ยนนิสัย
    👉 หนังสือ Atomic Habits เพราะชีวิตดีได้กว่าที่เป็น
    👉 หนังสือ แด่คุณที่กลัวการเปลี่ยนแปลงมาตลอดชีวิต
    👉 หนังสือ หยุดนิสัยทำอะไร 3 วันเลิก(MINI ROUTINES)
    👉 หนังสือ Have a nice Life
    👉 หนังสือ Mini Habits นิสัยจิ๋ว ของคนที่ประสบความสำเร็จ
    .
    📚 เปลี่ยนจิตใจ
    👉 หนังสือ วิชาสำคัญที่คุณควรรู้ Why Has Nobody Told Me This Before?
    👉 หนังสือ Manifest: 7 ขั้นตอนสู่ทุกสิ่งที่ปรารถนา
    👉 หนังสือ ใช้คลื่นพลังบวกดึงดูดพลังสุข
    👉 หนังสือ ซ่อมแซมสุขที่สึกหรอ EMOTIONAL FIRST AID
    👉 หนังสือ วิชาใจเบา
    .
    📚 เปลี่ยนการสื่อสาร
    👉 หนังสือ ศิลปะการพูดให้เหมือนนั่งในใจคน
    👉 หนังสือ อย่าเป็นคนเก่งที่คุยไม่เป็น
    👉 หนังสือ คนฉลาดคิดอะไรก่อนพูด
    👉 หนังสือ พูดให้ง่ายๆ คือไม้ตายของคนเก่ง
    👉 หนังสือ พลังแห่งการหยุดพูดในโลกที่คนพูดไม่หยุด
    .
    📚 เปลี่ยนการเงิน
    👉 หนังสือ The Psychology of Money
    👉 หนังสือ ถอดรหัสลับ สมองเงินล้าน
    👉 หนังสือ คิดให้รวย
    👉 หนังสือ Money Mastery มั่งคั่งทั้งชีวิต
    👉 หนังสือ เศรษฐีชี้ทางรวย
    .
    🛒 สั่งซื้อคลิก > https://book-naiin.com/4h0JyeP
    .
    Credit: ร้านนายอินทร์
    รวม 25 หนังสือ 📚 ที่จะเปลี่ยนชีวิตของคุณในแต่ละด้าน ไม่ว่าจะเป็น 👉 ความคิด นิสัย จิตใจ การสื่อสาร และการเงิน . 📚 เปลี่ยนความคิด 👉 หนังสือ THINK AGAIN คิดแล้ว, คิดอีก 👉 หนังสือ 101 บทความเปลี่ยนชีวิตที่จะเปลี่ยนวิธีคิดคุณ (101 Essays That Will Change The Way You Think) 👉 หนังสือ ใช้ความคิดเอาชนะโชคชะตา (Mindset) 👉 หนังสือ คิด, เร็วและช้า Thinking, Fast and Slow 👉 หนังสือ ศิลปะแห่งการคิดไขว้ Crossover Creativity . 📚 เปลี่ยนนิสัย 👉 หนังสือ Atomic Habits เพราะชีวิตดีได้กว่าที่เป็น 👉 หนังสือ แด่คุณที่กลัวการเปลี่ยนแปลงมาตลอดชีวิต 👉 หนังสือ หยุดนิสัยทำอะไร 3 วันเลิก(MINI ROUTINES) 👉 หนังสือ Have a nice Life 👉 หนังสือ Mini Habits นิสัยจิ๋ว ของคนที่ประสบความสำเร็จ . 📚 เปลี่ยนจิตใจ 👉 หนังสือ วิชาสำคัญที่คุณควรรู้ Why Has Nobody Told Me This Before? 👉 หนังสือ Manifest: 7 ขั้นตอนสู่ทุกสิ่งที่ปรารถนา 👉 หนังสือ ใช้คลื่นพลังบวกดึงดูดพลังสุข 👉 หนังสือ ซ่อมแซมสุขที่สึกหรอ EMOTIONAL FIRST AID 👉 หนังสือ วิชาใจเบา . 📚 เปลี่ยนการสื่อสาร 👉 หนังสือ ศิลปะการพูดให้เหมือนนั่งในใจคน 👉 หนังสือ อย่าเป็นคนเก่งที่คุยไม่เป็น 👉 หนังสือ คนฉลาดคิดอะไรก่อนพูด 👉 หนังสือ พูดให้ง่ายๆ คือไม้ตายของคนเก่ง 👉 หนังสือ พลังแห่งการหยุดพูดในโลกที่คนพูดไม่หยุด . 📚 เปลี่ยนการเงิน 👉 หนังสือ The Psychology of Money 👉 หนังสือ ถอดรหัสลับ สมองเงินล้าน 👉 หนังสือ คิดให้รวย 👉 หนังสือ Money Mastery มั่งคั่งทั้งชีวิต 👉 หนังสือ เศรษฐีชี้ทางรวย . 🛒 สั่งซื้อคลิก > https://book-naiin.com/4h0JyeP . Credit: ร้านนายอินทร์
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 347 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต
    https://www.planwise.in.th
    (PlanWise Insure Service)
    การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต https://www.planwise.in.th (PlanWise Insure Service)
    WWW.PLANWISE.IN.TH
    PlanWise.in.th
    เลือกแบบประกันที่ท่านสนใจ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • ใบอนุญาต IP Invesment Planner , IC complex , IC plain และ คุณวุฒิวิชาชีพ นักวางแผนการเงิน CFP , ที่ปรึกษาการเงิน AFPT คืออะไร และทำไรได้บ้าง แตกต่างกันอย่างไร
    .
    #PlanWise
    ใบอนุญาต IP Invesment Planner , IC complex , IC plain และ คุณวุฒิวิชาชีพ นักวางแผนการเงิน CFP , ที่ปรึกษาการเงิน AFPT คืออะไร และทำไรได้บ้าง แตกต่างกันอย่างไร . #PlanWise
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 299 มุมมอง 0 รีวิว
  • 5 รูปแบบประกันชีวิตเลือกยังไง ให้ตอบโจทย์
    ในปัจจุบันสัญญาประกันชีวิตมีมากมายหลากหลายแบบ แต่ละแบบจะมีลักษณะความคุ้มครองและผลประโยชน์แตกต่างกันออกไป หากสรุปแบบประกันชีวิตโดยรวมจะแบ่งได้ดังนี้

    Credit: SCB

    #PlanWise
    5 รูปแบบประกันชีวิตเลือกยังไง ให้ตอบโจทย์ ในปัจจุบันสัญญาประกันชีวิตมีมากมายหลากหลายแบบ แต่ละแบบจะมีลักษณะความคุ้มครองและผลประโยชน์แตกต่างกันออกไป หากสรุปแบบประกันชีวิตโดยรวมจะแบ่งได้ดังนี้ Credit: SCB #PlanWise
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 253 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวัสดีครับ ผมชื่อต้องนะครับ เป็นแอดมินเพจ PlanWise ครับ
    เป็นเพจให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของประกันชีวิตและการวางแผนการเงิน
    .
    จุดเริ่มต้นของต้อง เริ่มต้นมาจากการที่เราชอบศึกษาเรื่องของการลงทุนมาก่อน ได้แก่ หุ้น กองทุน มาก่อน เมื่อได้ศึกษาเพิ่มเติมพบว่า การทำประกันเป็นเครื่องช่วยบริหารการจัดการความเสี่ยงในทรัพย์สินและรวมถึงชีวิตเราได้ จากจุดนั้นเองจึงทำให้ผมสนใจเรื่องประกันชีวิต และสมัครเป็นตัวแทนประกันชีวิต และการตัดสินใจในครั้งนี้ ผมก็เลือกที่จะสมัครตัวแทนของไทยประกันชีวิต(TLI)ครับ เพราะมีแรงบันดาลใจจากครอบครัวและน้าผู้ที่ดูแลแม่ต้องในเรื่องประกันชีวิตมาเป็นระยะเวลากว่าหลายสิบปี น้าท่านนี้เป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถ ดูแลและช่วยเหลือครอบครัวต้องเสมอมาจนวันนี้ ผมจึงสนใจและเป็นตัวแทนกับไทยประกันชีวิตครับ
    .
    ประวัติการศึกษาของต้อง ต้องจบการศึกษาด้านสาธารณสุข และนิติศาสตร์บัณฑิตจากรั้วรามคำแหงครับ ปัจจุบันก็ทำงานด้านสาธารณสุขในหน่วยงานของรัฐ พร้อมกันนี้ก็ยังเตรียมตัวสอบใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิตด้วยครับ
    .
    วัตถุประสงค์ในการสร้างเพจของต้องคือ การได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับความสำคัญของประกันชีวิต และการวางแผนทางการเงินอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจได้ตระหนักถึงเรื่องของการเงินกับชีวิตว่ามีความสัมพันธ์ และใกล้ตัวเป็นอย่างยิ่ง ในตอนแรกก็นึกอยู่นานว่าจะใช้ชื่อเพจว่ายังไงแต่ไปสะดุดตรงคำว่า "แพลนไว้" และชอบคำนี้จึงเป็นที่มาของชื่อเพจครับผม
    .
    สิ่งที่ผมอยากส่งต่อกับทุกคนคือ "ความรู้" ครับ เพราะหากเรารู้เราย่อมจะสามารถแก้ไขปัญหาในเรื่องของชีวิตได้ เรื่องอื่นก็เช่นกันรวมถึงเรื่องการวางแผนการเงินด้วย ติดปีกความรู้ทางการเงิน เพื่อสุขภาพที่ดีทางการเงิน ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการวางแผนชีวิตที่ดีและอย่าลืมติดตามเพจนี้ด้วยนะครับ ^^
    .
    ขอบคุณครับ
    ต้อง PlanWise
    เขียนเมื่อวันที่ : 17 ก.ย. 2567 (22.33 น.)
    แก้ไขเพิ่มเติม : -
    .
    #PlanWise #PlanWiseOfficial #แพลนไว้

    การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต
    https://www.planwise.in.th
    (PlanWise Insure Service)
    สวัสดีครับ ผมชื่อต้องนะครับ เป็นแอดมินเพจ PlanWise ครับ เป็นเพจให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของประกันชีวิตและการวางแผนการเงิน . จุดเริ่มต้นของต้อง เริ่มต้นมาจากการที่เราชอบศึกษาเรื่องของการลงทุนมาก่อน ได้แก่ หุ้น กองทุน มาก่อน เมื่อได้ศึกษาเพิ่มเติมพบว่า การทำประกันเป็นเครื่องช่วยบริหารการจัดการความเสี่ยงในทรัพย์สินและรวมถึงชีวิตเราได้ จากจุดนั้นเองจึงทำให้ผมสนใจเรื่องประกันชีวิต และสมัครเป็นตัวแทนประกันชีวิต และการตัดสินใจในครั้งนี้ ผมก็เลือกที่จะสมัครตัวแทนของไทยประกันชีวิต(TLI)ครับ เพราะมีแรงบันดาลใจจากครอบครัวและน้าผู้ที่ดูแลแม่ต้องในเรื่องประกันชีวิตมาเป็นระยะเวลากว่าหลายสิบปี น้าท่านนี้เป็นผู้ที่มีความรู้และความสามารถ ดูแลและช่วยเหลือครอบครัวต้องเสมอมาจนวันนี้ ผมจึงสนใจและเป็นตัวแทนกับไทยประกันชีวิตครับ . ประวัติการศึกษาของต้อง ต้องจบการศึกษาด้านสาธารณสุข และนิติศาสตร์บัณฑิตจากรั้วรามคำแหงครับ ปัจจุบันก็ทำงานด้านสาธารณสุขในหน่วยงานของรัฐ พร้อมกันนี้ก็ยังเตรียมตัวสอบใบอนุญาตตัวแทนประกันชีวิตด้วยครับ . วัตถุประสงค์ในการสร้างเพจของต้องคือ การได้เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับความสำคัญของประกันชีวิต และการวางแผนทางการเงินอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจได้ตระหนักถึงเรื่องของการเงินกับชีวิตว่ามีความสัมพันธ์ และใกล้ตัวเป็นอย่างยิ่ง ในตอนแรกก็นึกอยู่นานว่าจะใช้ชื่อเพจว่ายังไงแต่ไปสะดุดตรงคำว่า "แพลนไว้" และชอบคำนี้จึงเป็นที่มาของชื่อเพจครับผม . สิ่งที่ผมอยากส่งต่อกับทุกคนคือ "ความรู้" ครับ เพราะหากเรารู้เราย่อมจะสามารถแก้ไขปัญหาในเรื่องของชีวิตได้ เรื่องอื่นก็เช่นกันรวมถึงเรื่องการวางแผนการเงินด้วย ติดปีกความรู้ทางการเงิน เพื่อสุขภาพที่ดีทางการเงิน ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการวางแผนชีวิตที่ดีและอย่าลืมติดตามเพจนี้ด้วยนะครับ ^^ . ขอบคุณครับ ต้อง PlanWise เขียนเมื่อวันที่ : 17 ก.ย. 2567 (22.33 น.) แก้ไขเพิ่มเติม : - . #PlanWise #PlanWiseOfficial #แพลนไว้ การวางแผนทางการเงินและประกันชีวิต https://www.planwise.in.th (PlanWise Insure Service)
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1101 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 127 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 136 มุมมอง 0 รีวิว
เรื่องราวเพิ่มเติม