• ปุกาดสำหรับ fc เป็fย่าง ตอนนี้ปิดยูซเก่าเอาชีวิตรอด แก้เขินว่าทำภาระกิจสำเร็จแล้ว ตอนนี้ใช้ยูซผีแทน ทุ๊ย!
    #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    ปุกาดสำหรับ fc เป็fย่าง ตอนนี้ปิดยูซเก่าเอาชีวิตรอด แก้เขินว่าทำภาระกิจสำเร็จแล้ว ตอนนี้ใช้ยูซผีแทน ทุ๊ย! #คิงส์โพธิ์แดง-สำรอง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Like
    Haha
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1100 มุมมอง 0 รีวิว
  • ให้รู้จักพอ พอเพียง พอประมาณ จิตใจก็จะไม่โลภ
    ให้รู้จักพอ พอเพียง พอประมาณ จิตใจก็จะไม่โลภ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,638
    วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024)

    ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 20 รูป เป็นเงิน 260 บาท
    ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท
    1. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยำยำ รสต้มยำทะเล (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสดั้งเดิม 14g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท)
    5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,638 วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024) ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 20 รูป เป็นเงิน 260 บาท ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท 1. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยำยำ รสต้มยำทะเล (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสดั้งเดิม 14g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท) 5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,638
    วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024)

    ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 20 รูป เป็นเงิน 260 บาท
    ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท
    1. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยำยำ รสต้มยำทะเล (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสดั้งเดิม 14g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท)
    5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,638 วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024) ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 20 รูป เป็นเงิน 260 บาท ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 13 บาท 1. บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ยำยำ รสต้มยำทะเล (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ มอลคิสท์ รสดั้งเดิม 14g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท) 5. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นท์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขายที่ดินสวยต.ท่าบุญมี​ อ.เกาะจันทร์​ จ.ชลบุรี​ ยกแปลง​ 17ไร่​ 18ล้านบาท​ โซนสีส้มครับ​ ห่างทล.331เพียง1กม.ครับ
    ขายที่ดินสวยต.ท่าบุญมี​ อ.เกาะจันทร์​ จ.ชลบุรี​ ยกแปลง​ 17ไร่​ 18ล้านบาท​ โซนสีส้มครับ​ ห่างทล.331เพียง1กม.ครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว

  • "จุดหมายแห่งพุทธธรรม: การตื่นสู่ความจริงอันเป็นบรมสุข

    ในโลกที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายและความทุกข์ พระพุทธศาสนาได้ชี้ทางออกที่แท้จริงให้แก่มวลมนุษย์ นั่นคือ การหลุดพ้นจากความทุกข์อย่างสิ้นเชิง ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรม

    1. ความหลุดพ้นคือแก่นแท้
    พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า แก่นสารของการปฏิบัติธรรมคือการบรรลุถึงความหลุดพ้นทางใจที่ไม่กลับกำเริบอีก นี่คือสภาวะที่เรียกว่า 'นิพพาน'

    2. จิตนิรทุกข์คือหลักชัย
    สภาวะจิตที่ปราศจากความทุกข์โดยสิ้นเชิง ไม่หวนกลับมาเป็นทุกข์อีก คือเป้าหมายสูงสุดที่สามารถพิสูจน์ได้ในชาตินี้ ไม่ต้องรอถึงชาติหน้า

    3. การแยกจิตออกจากขันธ์
    ผู้บรรลุธรรมสูงสุดจะมีจิตที่ 'พรากจากขันธ์' คือไม่ยึดมั่นถือมั่นในกายและใจว่าเป็นตัวตน ทำให้ไม่หวั่นไหวไปกับความเปลี่ยนแปลงของชีวิต

    4. ความจริงแท้ vs ความเท็จ
    ตามหลักพุทธธรรม สิ่งใดที่เสื่อมสลายได้ ถือเป็นของเท็จ ส่วนสิ่งที่ไม่เสื่อมสลาย คือนิพพาน ถือเป็นความจริงแท้

    5. การปฏิบัติเพื่อตื่นจากความฝัน
    การปฏิบัติธรรมคือการตื่นจากความฝันอันเป็นทุกข์ สู่ความจริงอันเป็นบรมสุข นี่คือเป้าหมายที่แท้จริงของการปฏิบัติธรรม

    6. ความสุขที่แท้จริงและยั่งยืน
    ความสุขทางโลกล้วนเป็นของชั่วคราว แต่ความสุขที่เกิดจากการหลุดพ้นเป็นความสุขที่แท้จริงและยั่งยืน

    7. การเข้าถึงสัจธรรม
    ผู้บรรลุธรรมสูงสุดเท่านั้นที่จะเข้าถึงสัจธรรมอย่างแท้จริง ส่วนคนทั่วไปยังคงวนเวียนอยู่ในวังวนแห่งความเข้าใจผิด

    8. การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    แม้เราอาจยังไม่บรรลุถึงความหลุดพ้นขั้นสูงสุด แต่การปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวันก็สามารถนำพาเราเข้าใกล้เป้าหมายนี้ได้ทีละน้อย

    การเข้าใจจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการปฏิบัติธรรมจะช่วยให้เรามีแรงบันดาลใจและทิศทางที่ชัดเจนในการดำเนินชีวิต แม้ว่าเป้าหมายสูงสุดอาจดูห่างไกล แต่ทุกย่างก้าวในการปฏิบัติล้วนนำพาเราเข้าใกล้ความจริงและความสุขที่แท้มากขึ้น

    ขอให้ทุกท่านมีกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อค่อยๆ ปลดเปลื้องความทุกข์และก้าวสู่ความสุขที่แท้จริง อันเป็นจุดหมายสูงสุดของพุทธธรรม"
    "จุดหมายแห่งพุทธธรรม: การตื่นสู่ความจริงอันเป็นบรมสุข ในโลกที่เต็มไปด้วยความวุ่นวายและความทุกข์ พระพุทธศาสนาได้ชี้ทางออกที่แท้จริงให้แก่มวลมนุษย์ นั่นคือ การหลุดพ้นจากความทุกข์อย่างสิ้นเชิง ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรม 1. ความหลุดพ้นคือแก่นแท้ พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า แก่นสารของการปฏิบัติธรรมคือการบรรลุถึงความหลุดพ้นทางใจที่ไม่กลับกำเริบอีก นี่คือสภาวะที่เรียกว่า 'นิพพาน' 2. จิตนิรทุกข์คือหลักชัย สภาวะจิตที่ปราศจากความทุกข์โดยสิ้นเชิง ไม่หวนกลับมาเป็นทุกข์อีก คือเป้าหมายสูงสุดที่สามารถพิสูจน์ได้ในชาตินี้ ไม่ต้องรอถึงชาติหน้า 3. การแยกจิตออกจากขันธ์ ผู้บรรลุธรรมสูงสุดจะมีจิตที่ 'พรากจากขันธ์' คือไม่ยึดมั่นถือมั่นในกายและใจว่าเป็นตัวตน ทำให้ไม่หวั่นไหวไปกับความเปลี่ยนแปลงของชีวิต 4. ความจริงแท้ vs ความเท็จ ตามหลักพุทธธรรม สิ่งใดที่เสื่อมสลายได้ ถือเป็นของเท็จ ส่วนสิ่งที่ไม่เสื่อมสลาย คือนิพพาน ถือเป็นความจริงแท้ 5. การปฏิบัติเพื่อตื่นจากความฝัน การปฏิบัติธรรมคือการตื่นจากความฝันอันเป็นทุกข์ สู่ความจริงอันเป็นบรมสุข นี่คือเป้าหมายที่แท้จริงของการปฏิบัติธรรม 6. ความสุขที่แท้จริงและยั่งยืน ความสุขทางโลกล้วนเป็นของชั่วคราว แต่ความสุขที่เกิดจากการหลุดพ้นเป็นความสุขที่แท้จริงและยั่งยืน 7. การเข้าถึงสัจธรรม ผู้บรรลุธรรมสูงสุดเท่านั้นที่จะเข้าถึงสัจธรรมอย่างแท้จริง ส่วนคนทั่วไปยังคงวนเวียนอยู่ในวังวนแห่งความเข้าใจผิด 8. การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน แม้เราอาจยังไม่บรรลุถึงความหลุดพ้นขั้นสูงสุด แต่การปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวันก็สามารถนำพาเราเข้าใกล้เป้าหมายนี้ได้ทีละน้อย การเข้าใจจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการปฏิบัติธรรมจะช่วยให้เรามีแรงบันดาลใจและทิศทางที่ชัดเจนในการดำเนินชีวิต แม้ว่าเป้าหมายสูงสุดอาจดูห่างไกล แต่ทุกย่างก้าวในการปฏิบัติล้วนนำพาเราเข้าใกล้ความจริงและความสุขที่แท้มากขึ้น ขอให้ทุกท่านมีกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อค่อยๆ ปลดเปลื้องความทุกข์และก้าวสู่ความสุขที่แท้จริง อันเป็นจุดหมายสูงสุดของพุทธธรรม"
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 154 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทางปฏิบัติให้ถึงการดับไม่เหลือแห่งทุกข์ คือ "การเจริญสติ ตามรู้ลมหายใจ ให้เห็นการเกิด-ดับ" หรืออานาปานสติ หรือกายคตาสติ วิธีเดียวนี้ รวมถึงได้ทำ สมถะและวิป้สสนาบริบูรณ์.. ได้ทำศีล สมาธิ และปัญญาให้บริบูรณ์.. ได้ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ 8 ครบถ้วนบริบูรณ์
    ทางปฏิบัติให้ถึงการดับไม่เหลือแห่งทุกข์ คือ "การเจริญสติ ตามรู้ลมหายใจ ให้เห็นการเกิด-ดับ" หรืออานาปานสติ หรือกายคตาสติ วิธีเดียวนี้ รวมถึงได้ทำ สมถะและวิป้สสนาบริบูรณ์.. ได้ทำศีล สมาธิ และปัญญาให้บริบูรณ์.. ได้ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ 8 ครบถ้วนบริบูรณ์
    0 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 271 มุมมอง 94 0 รีวิว
  • ทางปฏิบัติให้ถึงการดับไม่เหลือแห่งทุกข์ คือ "การเจริญสติ ตามรู้ลมหายใจ ให้เห็นการเกิด-ดับ" หรืออานาปานสติ หรือกายคตาสติ วิธีเดียวนี้ รวมถึงได้ทำ สมถะและวิป้สสนาบริบูรณ์.. ได้ทำศีล สมาธิ และปัญญาให้บริบูรณ์.. ได้ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ 8 ครบถ้วนบริบูรณ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 94 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันเสาร์ที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ.2567
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันเสาร์ที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ.2567 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • เพราะเราและสังคมกำลังอยู่ในกองอกุศล มีปัญหามาก มีทุกข์มาก ซึ่งผ่านเข้ามาทางหู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ เปรียบเหมือนไฟกำลังไหม้ผมอยู่บนหัว หลายคนหาทางแก้ไม่ได้ หาทางแก้ทุกข์ไม่ถูกวิธี เช่น ดูหมอ สะเดาะเคราะห์ รดน้ำน้ำมนต์ แก้ชะตาด้วยเดรัจฉาวิชาต่างๆ พึ่งภูเขา แม่น้ำ ตนไม้ เทวดา ฯ ซึ่งเข้าใจผิดว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ แทนที่จะคิด "พึ่งตนและพึ่งธรรม" ตามที่พระศาสดาสอนมาเป็นเวลา 2,612 ปีล่วงมาแล้ว
    เพราะเราและสังคมกำลังอยู่ในกองอกุศล มีปัญหามาก มีทุกข์มาก ซึ่งผ่านเข้ามาทางหู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ เปรียบเหมือนไฟกำลังไหม้ผมอยู่บนหัว หลายคนหาทางแก้ไม่ได้ หาทางแก้ทุกข์ไม่ถูกวิธี เช่น ดูหมอ สะเดาะเคราะห์ รดน้ำน้ำมนต์ แก้ชะตาด้วยเดรัจฉาวิชาต่างๆ พึ่งภูเขา แม่น้ำ ตนไม้ เทวดา ฯ ซึ่งเข้าใจผิดว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ แทนที่จะคิด "พึ่งตนและพึ่งธรรม" ตามที่พระศาสดาสอนมาเป็นเวลา 2,612 ปีล่วงมาแล้ว
    ทางปฏิบัติให้ถึงการดับไม่เหลือแห่งทุกข์ คือ "การเจริญสติ ตามรู้ลมหายใจ ให้เห็นการเกิด-ดับ" หรืออานาปานสติ หรือกายคตาสติ วิธีเดียวนี้ รวมถึงได้ทำ สมถะและวิป้สสนาบริบูรณ์.. ได้ทำศีล สมาธิ และปัญญาให้บริบูรณ์.. ได้ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ 8 ครบถ้วนบริบูรณ์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 94 0 รีวิว
  • ไม่ใช่คนร่ำรวยอะไร ไม่มีทุนรอนนักที่จะมาทำมาช่วยตลอด ที่ทำได้ทุกวันนี้ ทุนที่ทำก็มาจากผู้ไม่ประสงค์ออกนาม ช่วยเราทำในอดีตแจกจ่ายจนตัวเองไม่เหลือสิ่งใดกันก็ผ่านมาแล้ว..ดีใจนะเห็นเสาหลักของครอบครัว หลายๆคน นอนราบได้เป็นปกติ หายใจสะดวกขึ้นลึกขึ้น..ทำงานไหว ..สมุนไพรที่เราให้ดื่มๆกันสรรพคุณมีมากมายเราสาธยายให้ยังไม่หมด อย่างน้อยการอักเสบของปอดและหัวใจจะดีขึ้นเรื่อยๆ...ดื่มกันนะ วันละสองมื้อมื้อละห่อ มันจะได้ขับสิ่งไม่ดีออกไป...

    ไม่เคยหวังร่ำรวยอะไรหรอกเพราะไม่มีวันเป็นไปได้ ..ช่วยทุกๆคนจูงมือรอดไปด้วยกัน..ทุนมีบ้างต้องใช้เพราะต้องสรรหาวัตุดิบดีดีปลอดภัย อุปกรณ์ดีเีเอามา ใช้กับตัวสมุนไพร..

    อยากให้ในไทยมีใครสักคนที่รู้จรืงเครื่องสุขภาพนะถามตอบโดยไม่ต้องกางตำรา ไม่ต้องใส่ในผลงานวิจัยช่วยผู้คนให้มีแรงกายใจ สำหรับมีชีวิตอยู่.แต่อยากเหลือเกิน ..เพราะเงินบังหน้าบังตา ปิดความถูกต้องไปซะหมด ละคนไทยเอง..ไม่ค่อยสนับสนุนคนไทยด้วยกันนัก ไม่ ช่วยส่งเสริม มีแต่ลดทอนกำลังใจความสามารถของคนอื่น...น่าเสียใจ
    ไม่ใช่คนร่ำรวยอะไร ไม่มีทุนรอนนักที่จะมาทำมาช่วยตลอด ที่ทำได้ทุกวันนี้ ทุนที่ทำก็มาจากผู้ไม่ประสงค์ออกนาม ช่วยเราทำในอดีตแจกจ่ายจนตัวเองไม่เหลือสิ่งใดกันก็ผ่านมาแล้ว..ดีใจนะเห็นเสาหลักของครอบครัว หลายๆคน นอนราบได้เป็นปกติ หายใจสะดวกขึ้นลึกขึ้น..ทำงานไหว ..สมุนไพรที่เราให้ดื่มๆกันสรรพคุณมีมากมายเราสาธยายให้ยังไม่หมด อย่างน้อยการอักเสบของปอดและหัวใจจะดีขึ้นเรื่อยๆ...ดื่มกันนะ วันละสองมื้อมื้อละห่อ มันจะได้ขับสิ่งไม่ดีออกไป... ไม่เคยหวังร่ำรวยอะไรหรอกเพราะไม่มีวันเป็นไปได้ ..ช่วยทุกๆคนจูงมือรอดไปด้วยกัน..ทุนมีบ้างต้องใช้เพราะต้องสรรหาวัตุดิบดีดีปลอดภัย อุปกรณ์ดีเีเอามา ใช้กับตัวสมุนไพร.. อยากให้ในไทยมีใครสักคนที่รู้จรืงเครื่องสุขภาพนะถามตอบโดยไม่ต้องกางตำรา ไม่ต้องใส่ในผลงานวิจัยช่วยผู้คนให้มีแรงกายใจ สำหรับมีชีวิตอยู่.แต่อยากเหลือเกิน ..เพราะเงินบังหน้าบังตา ปิดความถูกต้องไปซะหมด ละคนไทยเอง..ไม่ค่อยสนับสนุนคนไทยด้วยกันนัก ไม่ ช่วยส่งเสริม มีแต่ลดทอนกำลังใจความสามารถของคนอื่น...น่าเสียใจ
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆บ้านไร่ ปลายนา baan rai pai na
    จังหวัด อุทัยธานี
    ☆เบอร์โทร
    088- 007-9836
    089-123-3687
    ☆เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/baanraipaina.Uthai?mibextid=ZbWKwL
    《《
    ***บ้านพักมี 2 หลังเท่านั้น***
    ☆ราคาคืนวันเสาร์ และวันหยุดต่อเนื่อง 2,500 บาท
    ☆ราคาคืนวันธรรมดา 2,200 บาท
    บ้านพัก+อาหารเช้า
    ◇อาหารเย็นสั่งเพิ่ม 500-800 บาท
    ■■■■■■■■■■■
    #อุทัยธานี #โฮมสเตย์อุทัยธานี
    #เที่ยวอุทัยธานี #บ้านไร่ปลายนา #บ้านไร่ปลายนาอุทัยธานี #บ้านพักวิวทุ่งนา #มะนาวก้าวเดิน #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #ขันโตกที่อุทัยธานี #บ้านไร่ปลายนาbaanraipaina
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ☆บ้านไร่ ปลายนา baan rai pai na จังหวัด อุทัยธานี ☆เบอร์โทร 088- 007-9836 089-123-3687 ☆เพจ 》》 https://www.facebook.com/baanraipaina.Uthai?mibextid=ZbWKwL 《《 ***บ้านพักมี 2 หลังเท่านั้น*** ☆ราคาคืนวันเสาร์ และวันหยุดต่อเนื่อง 2,500 บาท ☆ราคาคืนวันธรรมดา 2,200 บาท บ้านพัก+อาหารเช้า ◇อาหารเย็นสั่งเพิ่ม 500-800 บาท ■■■■■■■■■■■ #อุทัยธานี #โฮมสเตย์อุทัยธานี #เที่ยวอุทัยธานี #บ้านไร่ปลายนา #บ้านไร่ปลายนาอุทัยธานี #บ้านพักวิวทุ่งนา #มะนาวก้าวเดิน #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #ขันโตกที่อุทัยธานี #บ้านไร่ปลายนาbaanraipaina #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1554 มุมมอง 375 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 240
    วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 240 วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 37 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 240
    วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 240 วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น"
    โปรดอย่าละทิ้งเป้าหมายชีวิต.

    ณรงค์ คนขำ
    27/10/2567
    "ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น" โปรดอย่าละทิ้งเป้าหมายชีวิต. ณรงค์ คนขำ 27/10/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น"
    โปรดอย่าละทิ้งเป้าหมายชีวิต.
    "ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น" โปรดอย่าละทิ้งเป้าหมายชีวิต.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช้)
    ☆เพจติดต่อ
    》》
    https://www.facebook.com/naherechai?mibextid=ZbWKwL
    《《
    ♡เข้าชมฟรี♡

    ■นาเฮียใช้หรือศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย
    ■ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
    ถือเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญในจังหวัดสุพรรณบุรีที่รวบรวมเรื่องราวที่น่าสนใจและองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในวิถีของเกษตรกรที่ทรงคุณค่าให้ได้ศึกษาและเรียนรู้
    ■สร้างขึ้นจากความจงรักภักดีและสำนึกในคุณงามความดีของในหลวงพระมหากษัตริย์ที่ทรงงานอย่างหนักเพื่อประชาชนคนไทย
    ■ก่อตั้งโดย คุณนิทัศน์ เจริญธรรมรักษา ที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับชาวนาและข้าว
    ■ใช้ชีวิตภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีให้เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร
    ■อีกทั้งยังเป็นสถานที่ศึกษาเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวให้ผู้สนใจได้เข้าชม
    ■■■■■■■■■■■■
    #ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย #นาเฮียใช้ #สุพรรณบุรี #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #สุพรรณบุรี #มะนาวก้าวเดิน #ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ☆ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช้) ☆เพจติดต่อ 》》 https://www.facebook.com/naherechai?mibextid=ZbWKwL 《《 ♡เข้าชมฟรี♡ ■นาเฮียใช้หรือศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย ■ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ถือเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญในจังหวัดสุพรรณบุรีที่รวบรวมเรื่องราวที่น่าสนใจและองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในวิถีของเกษตรกรที่ทรงคุณค่าให้ได้ศึกษาและเรียนรู้ ■สร้างขึ้นจากความจงรักภักดีและสำนึกในคุณงามความดีของในหลวงพระมหากษัตริย์ที่ทรงงานอย่างหนักเพื่อประชาชนคนไทย ■ก่อตั้งโดย คุณนิทัศน์ เจริญธรรมรักษา ที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับชาวนาและข้าว ■ใช้ชีวิตภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีให้เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร ■อีกทั้งยังเป็นสถานที่ศึกษาเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวให้ผู้สนใจได้เข้าชม ■■■■■■■■■■■■ #ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย #นาเฮียใช้ #สุพรรณบุรี #เที่ยวไทยไปกับมะนาวก้าวเดิน #สุพรรณบุรี #มะนาวก้าวเดิน #ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1417 มุมมอง 0 รีวิว
  • อย่าคิดต่ำกว่าหนอนในถังขี้เลย...พริษฐ์

    หนอน กินขี้เลี้ยงชีวิต มันรู้บุญคุณ มันไม่เคยเนรคุณถังขี้

    แต่พริษฐ์ เป็นมนุษย์ มีสมองคิดด้วยจิตสำนึกเหนือหนอน ฉะนั้น อย่าบ้า "ประชาธิปไตย-เผด็จการ" โดยไม่รู้จักแยกแยะด้วยเหตุและผลให้มากนัก

    จะปฏิรูปกองทัพ เลิกเกณฑ์ทหาร มีสงครามค่อยเกณฑ์

    พริษฐ์...หิวข้าวตอนไหน ค่อยไปทำตอนนั้น อย่างนั้นหรือ?

    นี่ถ้าวันนี้ไม่มีทหารละก็นะ

    พริษฐ์และคณะส้มต้องไปโกยเลนให้ชาวบ้านที่แม่สายแทน...เอามั้ย?

    กลับบ้าน อาบน้ำ ประแป้ง แล้วกินนมนอน ซะไป...พริษฐ์?!

    - เปลว สีเงิน
    ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗

    https://www.thaipost.net/columnist-people/663854/
    อย่าคิดต่ำกว่าหนอนในถังขี้เลย...พริษฐ์ หนอน กินขี้เลี้ยงชีวิต มันรู้บุญคุณ มันไม่เคยเนรคุณถังขี้ แต่พริษฐ์ เป็นมนุษย์ มีสมองคิดด้วยจิตสำนึกเหนือหนอน ฉะนั้น อย่าบ้า "ประชาธิปไตย-เผด็จการ" โดยไม่รู้จักแยกแยะด้วยเหตุและผลให้มากนัก จะปฏิรูปกองทัพ เลิกเกณฑ์ทหาร มีสงครามค่อยเกณฑ์ พริษฐ์...หิวข้าวตอนไหน ค่อยไปทำตอนนั้น อย่างนั้นหรือ? นี่ถ้าวันนี้ไม่มีทหารละก็นะ พริษฐ์และคณะส้มต้องไปโกยเลนให้ชาวบ้านที่แม่สายแทน...เอามั้ย? กลับบ้าน อาบน้ำ ประแป้ง แล้วกินนมนอน ซะไป...พริษฐ์?! - เปลว สีเงิน ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ https://www.thaipost.net/columnist-people/663854/
    WWW.THAIPOST.NET
    พริษฐ์ 'ที่แสนจะน่าระอา'
    "นายพริษฐ์ วัชรสินธุ" นี่ ถ้าเป็นดอกไม้ ก็เป็นดอกไม้พลาสติก มีสี มีฟอร์ม
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☆ร่วมเดินทางไปเช็คอิน EP.1
    》สุพรรณบุรี《
    ■สถานีเดินรถโดยสารขนาดเล็ก
    (จตุจักร) อาคารD
    กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี คนละ 100 บาท
    ■DD Place สุพรรณบุรี
    ราคา 450 บาท
    063-236-3693
    ■เหมารถไปทำงาน
    ครึ่งวัน 1,500+400=1,900 บาท
    ■สวนมะเดื่อฝรั่ง Bass Fig Farm
    สุพรรณบุรี
    082-046-4656
    ■ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและ
    จิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช้)
    ■■■■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย #นาเฮียใช้ #สุพรรณบุรี
    ☆ร่วมเดินทางไปเช็คอิน EP.1 》สุพรรณบุรี《 ■สถานีเดินรถโดยสารขนาดเล็ก (จตุจักร) อาคารD กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี คนละ 100 บาท ■DD Place สุพรรณบุรี ราคา 450 บาท 063-236-3693 ■เหมารถไปทำงาน ครึ่งวัน 1,500+400=1,900 บาท ■สวนมะเดื่อฝรั่ง Bass Fig Farm สุพรรณบุรี 082-046-4656 ■ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและ จิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช้) ■■■■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney #ศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย #นาเฮียใช้ #สุพรรณบุรี
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1552 มุมมอง 446 0 รีวิว
  • ีมีคนส่งภาพมาถาม..ก็จะบอกนะว่า..

    ☀️ 🙏😌

    Ubiquinol is the good one, much better than standard CoQ10 (particularly for people over age 40). In combination with spirulina pills, and maybe a milk thistle pill, these are good things for the body.

    อะไรดีก็บอกว่าดีไม่ดีก็จะบอกเสมอ ว่าไม่ดี..ตรงไปตรงมา คนไม่ชอบ เลยเยอะหน่อยเขาว่าปากหมา ขวางธุรกิจไปหมด..555
    ีมีคนส่งภาพมาถาม..ก็จะบอกนะว่า.. ☀️ 🙏😌 Ubiquinol is the good one, much better than standard CoQ10 (particularly for people over age 40). In combination with spirulina pills, and maybe a milk thistle pill, these are good things for the body. อะไรดีก็บอกว่าดีไม่ดีก็จะบอกเสมอ ว่าไม่ดี..ตรงไปตรงมา คนไม่ชอบ เลยเยอะหน่อยเขาว่าปากหมา ขวางธุรกิจไปหมด..555
    Yay
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 76 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/live/UnZKuP3U81c?feature=shared
    https://youtube.com/live/UnZKuP3U81c?feature=shared
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 รีวิว
  • ระวังเฟซบุ๊กปลอม! "คุยทุกเรื่องกับสนธิ"
    ทักชวนบริจาคเงิน อย่าหลงเชื่อ
    .
    มิจฉาชีพปลอมเพจคุยทุกเรื่องกับสนธิ ทักชวนบริจาคเงิน เตือนประชาชนอย่าหลงเชื่อ ยืนยันไม่เคยมีการทักข้อความไปทางไลน์ หรือ แอปฯ สนทนาใด ๆ พร้อมเข้าแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตำรวจแล้ว
    .
    วันนี้ (26 ก.ย.) มีแฟนรายการคุยทุกเรื่องกับสนธิได้แจ้งข่าวว่า มีมิจฉาชีพได้สร้าง เฟซบุ๊กปลอมของรายการ "คุยทุกเรื่องกับสนธิ" ขึ้นมา โดยใช้ชื่อว่า "คุยทุกเรื่อง กับสนธิ" (มีเว้นวรรคตรงกลาง) โดยปัจจุบันมีเพื่อน (Friends) อยู่มากถึง 2,400 คน ทั้งนี้เฟซบุ๊กดังกล่าวมีพฤติกรรมในการทักข้อความไปหา "เพื่อน" เพื่อชักชวนร่วมทำบุญ โดยอ้างว่ามาจากเพจสนธิ ลิ้มทองกุล โดยล่อลวงให้ผู้หลงเชื่อ add LINE ผ่านการสแกนคิวอาร์โคด
    .
    ทีมงานรายการคุยทุกเรื่องกับสนธิ จึงแจ้งว่ารายการคุยทุกเรื่องกับสนธินั้นมีเฟซบุ๊กเพจ เพียงเพจเฟซบุ๊กเพียงเดียว โดยสังเกตเพจจริงได้ในหลายๆ จุดด้วยกันคือ
    • มีคนคลิก Like อยู่ 1.3 ล้านคน
    • มีคนติดตาม Followers อยู่มากกว่า 3.8 ล้านคน
    • ท้ายชื่อเพจมีเครื่องหมาย Verified สีน้ำเงิน (✔️) ซึ่งเป็นการรับรองว่าเป็นเพจจริงจากเฟซบุ๊ก
    .
    ทั้งนี้ ที่ผ่านมารายการคุยทุกเรื่องกับสนธิไม่เคยมีการทักข้อความไปทาง แอปพลิเคชัน LINE หรื แอปฯ สนทนาใด ๆ เพื่อชักชวนให้มีการบริจาคใด ๆ ทั้งสิ้น และในกรณีนี้ทางรายการฯ ได้ดำเนินการเข้าแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตำรวจแล้ว เพื่อหาผู้กระทำผิดต่อไป
    .
    คลิกอ่าน >> https://sondhitalk.com/detail/9670000090441
    ......
    Sondhi X
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 68 มุมมอง 0 รีวิว