• 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • #ท่านจันทร์
    #thaitimes
    #กลอน
    #บทกวี
    #รักธรรมะ
    #ท่านจันทร์ #thaitimes #กลอน #บทกวี #รักธรรมะ
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 308 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • Like
    1
    0 Comments 0 Shares 124 Views 123 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • Like
    3
    0 Comments 0 Shares 124 Views 104 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • https://www.facebook.com/share/p/xB3NWJAdrVSmpS6U/?
    https://www.facebook.com/share/p/xB3NWJAdrVSmpS6U/?
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • “บิ๊กต่อ“ ส่งมอบตำแหน่งหน้าที่ให้ "บิ๊กต่าย" ในฐานะรอง ผบ.ตร.อาวุโสสูงสุด เผยทิ้งท้ายงานเลี้ยงย่อมมีวันเลิกรา จากนี้ขอให้ตำรวจตั้งใจทำงานเพื่อองค์กร ส่วนตัวเองขอพักผ่อน
    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000092192

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “บิ๊กต่อ“ ส่งมอบตำแหน่งหน้าที่ให้ "บิ๊กต่าย" ในฐานะรอง ผบ.ตร.อาวุโสสูงสุด เผยทิ้งท้ายงานเลี้ยงย่อมมีวันเลิกรา จากนี้ขอให้ตำรวจตั้งใจทำงานเพื่อองค์กร ส่วนตัวเองขอพักผ่อน อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000092192 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Sad
    Love
    Yay
    13
    1 Comments 0 Shares 713 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,533
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 โรงเรียน เป็นเงิน 400 บาท
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,533 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 โรงเรียน เป็นเงิน 400 บาท #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • ละครหนึ่งในร้อยกำลังออกอากาศ ไม่แน่ใจจะสร้างออกมาได้ดีงามเท่าบทประพันธ์ของดอกไม้สดหรือไม่ สำหรับใครที่ชื่นชอบในผลงานนิยายต้นฉบับ แนะนำให้ลองไปฟังเสียงอ่านนิยายเรื่องนี้กันได้ที่ช่อง
    Thanthita Channel ครับ

    #หนึ่งในร้อย
    #อนงค์
    #คุณพระอรรถคดี
    #ดอกไม้สด
    #เสียงอ่านหนังสือ
    #thaitimes

    https://youtu.be/wIHmYw_D2Hs?si=XoPdwxtZh3env1iE
    ละครหนึ่งในร้อยกำลังออกอากาศ ไม่แน่ใจจะสร้างออกมาได้ดีงามเท่าบทประพันธ์ของดอกไม้สดหรือไม่ สำหรับใครที่ชื่นชอบในผลงานนิยายต้นฉบับ แนะนำให้ลองไปฟังเสียงอ่านนิยายเรื่องนี้กันได้ที่ช่อง Thanthita Channel ครับ #หนึ่งในร้อย #อนงค์ #คุณพระอรรถคดี #ดอกไม้สด #เสียงอ่านหนังสือ #thaitimes https://youtu.be/wIHmYw_D2Hs?si=XoPdwxtZh3env1iE
    Love
    1
    0 Comments 0 Shares 306 Views 0 Reviews
  • เล่าข่าว สีกากีTiktok@newsonetiktok #NEWS1 #Thaitimes
    เล่าข่าว สีกากีTiktok@newsonetiktok #NEWS1 #Thaitimes
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 403 Views 397 0 Reviews
  • อาจาริยบูชาคุณ >>> ครั้งที่ 1
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    ทำบุญวัดที่เคยบวชพระ 2 แห่ง เป็นเงิน 200 บาท
    1. วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี (2 เดือน)
    2. วัดมหาธาตุฯ คณะ ๕ พระนคร กรุงเทพฯ (7 ปี)
    #ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายแห่งคนดี
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    อาจาริยบูชาคุณ >>> ครั้งที่ 1 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) ทำบุญวัดที่เคยบวชพระ 2 แห่ง เป็นเงิน 200 บาท 1. วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี (2 เดือน) 2. วัดมหาธาตุฯ คณะ ๕ พระนคร กรุงเทพฯ (7 ปี) #ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายแห่งคนดี * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • สงครามโรคในสงครามโลก
    0 Comments 0 Shares 8 Views 0 Reviews
  • 💟
    💟
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • สนธิเล่าเรื่อง 30-9-67
    .
    เล่าเรื่องเช้าวันจันทร์วันนี้ 30 กันยายน 2567 คุณสนธิมีหลายประเด็นที่อยากพูดเนื่องในวันเกษียณอายุการทำงาน ของแฟน ๆ รายการหลายคน รับฟังกันได้เลยครับ
    .
    คลิก >> https://www.youtube.com/watch?v=jBxOj_CT8Pc
    0 Comments 0 Shares 8 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • “โจ๊ก-ทนายตั้ม” สองคนนี้เป็นมากกว่าคนรู้จักสนิทสนมธรรมดา อุปมาดั่ง ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ “บีบไข่” ซึ่งกันและกัน
    ฟังเต็มๆได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=jBxOj_CT8Pc&t=63s&ab_channel=sondhitalk
    “โจ๊ก-ทนายตั้ม” สองคนนี้เป็นมากกว่าคนรู้จักสนิทสนมธรรมดา อุปมาดั่ง ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ “บีบไข่” ซึ่งกันและกัน ฟังเต็มๆได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=jBxOj_CT8Pc&t=63s&ab_channel=sondhitalk
    Like
    Love
    Haha
    Yay
    42
    1 Comments 0 Shares 646 Views 1006 1 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,533
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 โรงเรียน เป็นเงิน 400 บาท
    01. รร.วัดสองพี่น้อง อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 11 ต.ค.67)
    02. รร.ห้วยกระเจาพิทยาคม อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 11 ต.ค.67)
    03. รร.บ้านบางปรุ อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67)
    04. รร.บ้านหอยราก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67)
    05. รร.บ้านใหม่นาดี อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67)
    06. รร.วัดเตย อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67)
    07. รร.วัดประดู่เรียง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67)
    08. รร.วัดวังไคร้ อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67)
    09. รร.บ้านโนนสวรรค์ อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 14 ต.ค.67)
    10. รร.วัดหนองหลุม อ.วชิรบารมี จ.พิจิตร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 14 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,533 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 โรงเรียน เป็นเงิน 400 บาท 01. รร.วัดสองพี่น้อง อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 11 ต.ค.67) 02. รร.ห้วยกระเจาพิทยาคม อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 11 ต.ค.67) 03. รร.บ้านบางปรุ อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67) 04. รร.บ้านหอยราก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67) 05. รร.บ้านใหม่นาดี อ.จัตุรัส จ.ชัยภูมิ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67) 06. รร.วัดเตย อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67) 07. รร.วัดประดู่เรียง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67) 08. รร.วัดวังไคร้ อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 12 ต.ค.67) 09. รร.บ้านโนนสวรรค์ อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ (ทอดผ้าป่าสามัคคี 14 ต.ค.67) 10. รร.วัดหนองหลุม อ.วชิรบารมี จ.พิจิตร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 14 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • ชีวิตคือสมมุติ TikTok@yuija6055 #ซีรีส์ #หวังอันอวี่ #wanganyu #ว่างว่างก็แวะมา #Thaitines
    ชีวิตคือสมมุติ TikTok@yuija6055 #ซีรีส์ #หวังอันอวี่ #wanganyu #ว่างว่างก็แวะมา #Thaitines
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 160 Views 236 0 Reviews
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,533
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 โรงเรียน เป็นเงิน 400 บาท
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,533 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) ทอดผ้าป่าสามัคคี 20 โรงเรียน เป็นเงิน 400 บาท #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • 🎉
    🎉
    0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • อาจาริยบูชาคุณ >>> ครั้งที่ 1
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    ทำบุญวัดที่เคยบวชพระ 2 แห่ง เป็นเงิน 200 บาท
    1. วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี (2 เดือน)
    2. วัดมหาธาตุฯ คณะ ๕ พระนคร กรุงเทพฯ (7 ปี)
    #ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายแห่งคนดี
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    อาจาริยบูชาคุณ >>> ครั้งที่ 1 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) ทำบุญวัดที่เคยบวชพระ 2 แห่ง เป็นเงิน 200 บาท 1. วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี (2 เดือน) 2. วัดมหาธาตุฯ คณะ ๕ พระนคร กรุงเทพฯ (7 ปี) #ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายแห่งคนดี * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,641
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 18 รูป เป็นเงิน 216 บาท
    ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท
    1. นมโคสด โฟร์โมสต์ 225ml. (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,641 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 18 รูป เป็นเงิน 216 บาท ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท 1. นมโคสด โฟร์โมสต์ 225ml. (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 9 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์
    พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด
    พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์
    พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา
    จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย
    พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป
    เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ
    พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
    การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
    การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗ พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • ไหว้องค์พระปฐมเจดีย์
    ไหว้องค์พระปฐมเจดีย์
    0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,641
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 18 รูป เป็นเงิน 216 บาท
    ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท
    1. นมโคสด โฟร์โมสต์ 225ml. (6 บาท)
    2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,641 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 18 รูป เป็นเงิน 216 บาท ตลาดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 12 บาท 1. นมโคสด โฟร์โมสต์ 225ml. (6 บาท) 2. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ กลิ่นวานิลลา 15g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 4. กาแฟ 3in1 Indocafe Espresso 15g. (2 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 8 Views 0 Reviews
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 243
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๖๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 243 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๖๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 Comments 0 Shares 12 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 366
    วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024)

    สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 250 จบ
    รวมสวดสะสม 80,100 จบ ยอดคงเหลือ 3,900 จบ
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน
    #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    อิติปิโส 84,000 >>> วันที่ 366 วันจันทร์: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (30 September 2024) สวดบทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย จำนวน 250 จบ รวมสวดสะสม 80,100 จบ ยอดคงเหลือ 3,900 จบ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส๘๔๐๐๐จบ #สมถกรรมฐาน #พุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี #สวดมนต์ #สวดมนต์ทุกวัน #สวดมนต์เปลี่ยนชีวิต
    0 Comments 0 Shares 10 Views 0 Reviews
  • ในวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี เป็นวันสุดท้ายของการทำงานรับราชการของท่านที่อายุครบ 60 ปี “สนธิ” มีอะไรอยากฝากถึงผู้ที่ต้องเกษียณอายุราชการ

    ฟังเต็มๆได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=jBxOj_CT8Pc&t=63s&ab_channel=sondhitalk
    0 Comments 0 Shares 8 Views 1031 0 Reviews
  • 🔥🔥 30/09/2567 วันนี้น่าสนใจตรงที่
    นักลงทุนต่างประเทศ กำลังอยู่ในช่วง
    ทะยอยขายหุ้นออก ทำกำไร

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET
    #thaitimes
    🔥🔥 30/09/2567 วันนี้น่าสนใจตรงที่ นักลงทุนต่างประเทศ กำลังอยู่ในช่วง ทะยอยขายหุ้นออก ทำกำไร #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #thaitimes
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 301 Views 0 Reviews
  • ครั้งแรก! จีนเผยโฉม "ชุดมนุษย์อวกาศ" สำหรับสำรวจดวงจันทร์
    .
    วานนี้ (28 ก.ย.) ใน "เวทีเสวนาเทคโนโลยีชุดอวกาศที่สาม (第三屆航天服技術論壇)" ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองฉงชิ่ง ประเทศจีน องค์การอวกาศจีน (China Manned Space Agency) ได้เปิดตัวชุดมนุษย์อวกาศสำหรับการสำรวจดวงจันทร์ต่อสาธารณะเป็นครั้งแรก ทั้งนี้ได้ดำเนินโครงการสำรวจดวงจันทร์โดยมนุษย์อย่างเต็มรูปแบบแล้ว โดยมีแผนที่จะนำมนุษย์อวกาศชาวจีนขึ้นไปเหยียบดวงจันทร์ให้ได้ก่อนปี 2573 (ค.ศ.2030)
    .
    อนึ่งเมื่อกลางปีที่ผ่านมา ในวันที่ 2 มิถุนายน 2567 จีนได้นำยานอวกาศไร้ลูกเรือลงจอดบริเวณด้านไกลของดวงจันทร์ได้สำเร็จ พร้อมกับเก็บตัวอย่างหินและดินจากซีกมืดของดวงจันทร์กลับมายังโลกเป็นครั้งแรก ทั้งนี้ ภารกิจดังกล่าวถือเป็นภารกิจครั้งที่ 2 ของจีนในบริเวณด้านไกลของดวงจันทร์ และเป็นพื้นที่ที่ยังไม่มีประเทศใดไปถึง เนื่องจากด้านไกลของดวงจันทร์นี้ หันหน้าหนีโลกอยู่ตลอด ทั้งเต็มไปด้วยแอ่งลึกและมืดมิด ทำให้การสื่อสารและปฏิบัติการลงจอดหุ่นยนต์เจองานท้าทายกว่าภารกิจปกติ
    .
    ปีที่แล้ว เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2566 ในการแถลงข่าวภารกิจเสินโจว-16 ขึ้นสู่สถานีอวกาศเทียนกง นายหลิน ซีเฉียง หัวหน้าองค์การอวกาศจีน ได้ประกาศเป้าหมายในการนำมนุษย์อวกาศชาวจีนไปสู่ดวงจันทร์ ซึ่งหากสำเร็จประเทศจีนจะกลายเป็นประเทศที่สองที่สามารถส่งมนุษย์ไปเหยียบดวงจันทร์ได้ หลังจากสหรัฐฯ ที่นำมนุษย์ไปเหยียบดวงจันทร์ได้โดยโครงการอพอลโลเมื่อปี 2512 หรือ เมื่อ 55 ปีทีแล้ว
    .
    ขณะที่ในปัจจุบันสหรัฐฯ ก็พยายามผลักดันโครงการนำมนุษย์ขึ้นสู่ดวงจันทร์ให้ได้อีกครั้งผ่านโครงการอาร์ทิมิส ซึ่งตั้งเป้าในการนำมนุษย์กลับสู่ดวงจันทร์ภายในปี 2568 (ค.ศ.20205)
    .
    Cr ภาพ : สำนักข่าว Xinhua
    0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 7 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 5 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 6 Views 0 Reviews