
รายการ
ค้นพบผู้คนใหม่ๆ สร้างการเชื่อมต่อใหม่ๆ และรู้จักเพื่อนใหม่
- กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อกดถูกใจ แชร์ และแสดงความคิดเห็น!
- สิบจักรี https://youtu.be/h4Bj05JzRnA?si=QBZrHvUan3QOQ4mg
-
-
-
-
-
- Welcome to NEW WORLD!!Welcome to NEW WORLD!!0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 177 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 150 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
- thx, anyway.thx, anyway.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
- Went to Wat Phra Si Rattana Mahathat Woramahawihan in Phitsanulok, Thailand, 23 July 2024.
Went to Wat Phra Si Rattana Mahathat Woramahawihan in Phitsanulok, Thailand, 23 July 2024.0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 282 มุมมอง 0 รีวิว - ยินดีที่ได้รู้จักกันครับผม....
ยินดีที่ได้รู้จักกันครับผม....0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว - what time it is. เอ่อ…ไม่ค่อยอวดเท่าไหร่เรย 😅 #goldenconcept #applewatch0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 338 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 154 มุมมอง 0 รีวิว
-
- my buuuuuu~my buuuuuu~
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 66 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 62 มุมมอง 0 รีวิว
-
- 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว
- 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 0 รีวิว
- ทำไมร่มของญี่ปุ่นส่วนมากเป็นร่มใส่โปร่งแสง
ฤดูฝนในญี่ปุ่นมาพร้อมกับช่วงซากุระบานในเดือนมีนาคมถึงเมษายน และเข้าสู่ช่วงพายุฝนในเดือนพฤษภาคม ฤดูมรสุมในเดือนมิถุนายน และไต้ฝุ่นในเดือนกรกฎาคมและตุลาคม ในช่วงเวลาเหล่านี้เองที่จะมีทั้ง ฝนโปรย ฝนปรอย ๆ และ ฝนตกหนัก ไปจนถึงฝนที่ตกมาเป็นช่วง ๆ ในระหว่างวัน
จึงไม่แปลกเลยที่คนญี่ปุ่นจะพกร่ม แต่สิ่งที่แปลกสำหรับคนต่างชาติอย่างเรา ๆ ไม่ใช่การพกร่ม หากแต่เป็นร่มที่โปร่งใส ที่กันแดดก็ไม่ได้ และไม่ได้ทำขึ้นเพื่อเป็นแฟชั่นแต่อย่างใด แต่การทำร่มใส่นี้ มีที่มา
ร่มใสที่ว่านี้ เริ่มผลิตขึ้นในปีค.ศ. 1958 และความนิยมในการใช้ร่มใสนี้ก็เพิ่มขึ้นในช่วงการจัดโอลิมปิกในปีค.ศ. 1964
ร่มชนิดนี้ในตอนแรกเป็นร่มที่ทำด้วยมือ มีวางขายตามร้านสะดวกซื้อทั่วไปที่เรียกว่า コンビニエンスストア คนบินิเอนซุสโตอะ (ก็ คอนวีเนียนสโตร์ นี่ล่ะ) เรียกสั้น ๆ ว่า คนบินิ ถามว่าร้านแบบนี้สะดวกแค่ไหน ก็สะดวกชนิดที่ว่ามีร้านประเภทนี้อยู่ทุก 200 เมตร (เป็นคำเปรียบเปรยว่ามีเยอะมากทั่วไป)
สาเหตุที่ร่มของญี่ปุ่นเป็นร่มใส ก็เพื่อประโยชน์ในการใช้งานล้วน ๆ นั่นคือ
เพื่อไม่ให้ร่ม บังทัศนียภาพผู้อื่น (อึ้งกับความคิดเพื่อสาธารณะประโยชน์ของเขาไหมล่ะ)
เพราะหากเวลาที่คนจำนวนมากถือร่มในชุมชน โอกาสที่จะมองไม่เห็นทางข้างหน้าและชนกันย่อมเกิดขึ้นได้มาก หากเป็นร่มทึบ ร่มชนิดนี้เรียกว่า คาซะ มาจากคำว่า วาคาซะ (ที่เป็นร่มกระดาษแบบร่มบ่อสร้างบ้านเรา ปัจจุบันเรามักเห็นการใช่ร่มกระดาษเวลาที่เขาสวมชุดประจำชาติกัน)
สิ่งที่ทำให้ร่ม คาซะ เป็นที่นิยม ไม่ใช่แฟชั่น แต่เป็น ราคา และ ความสบายใจในการพกพา นั่นคือ นอกจากมันจะมีราคาถูก คันล่ะราว ๆ 300-500 เยน หรือราวๆ 60 - 100 บาทเศษ ๆ ดังนั้น ถ้าพกพาไปแล้วหลงลืมทำหาย ก็จะไม่เสียดายมากนักนั่นเอง
Vee Chirasreshthaทำไมร่มของญี่ปุ่นส่วนมากเป็นร่มใส่โปร่งแสง ฤดูฝนในญี่ปุ่นมาพร้อมกับช่วงซากุระบานในเดือนมีนาคมถึงเมษายน และเข้าสู่ช่วงพายุฝนในเดือนพฤษภาคม ฤดูมรสุมในเดือนมิถุนายน และไต้ฝุ่นในเดือนกรกฎาคมและตุลาคม ในช่วงเวลาเหล่านี้เองที่จะมีทั้ง ฝนโปรย ฝนปรอย ๆ และ ฝนตกหนัก ไปจนถึงฝนที่ตกมาเป็นช่วง ๆ ในระหว่างวัน จึงไม่แปลกเลยที่คนญี่ปุ่นจะพกร่ม แต่สิ่งที่แปลกสำหรับคนต่างชาติอย่างเรา ๆ ไม่ใช่การพกร่ม หากแต่เป็นร่มที่โปร่งใส ที่กันแดดก็ไม่ได้ และไม่ได้ทำขึ้นเพื่อเป็นแฟชั่นแต่อย่างใด แต่การทำร่มใส่นี้ มีที่มา ร่มใสที่ว่านี้ เริ่มผลิตขึ้นในปีค.ศ. 1958 และความนิยมในการใช้ร่มใสนี้ก็เพิ่มขึ้นในช่วงการจัดโอลิมปิกในปีค.ศ. 1964 ร่มชนิดนี้ในตอนแรกเป็นร่มที่ทำด้วยมือ มีวางขายตามร้านสะดวกซื้อทั่วไปที่เรียกว่า コンビニエンスストア คนบินิเอนซุสโตอะ (ก็ คอนวีเนียนสโตร์ นี่ล่ะ) เรียกสั้น ๆ ว่า คนบินิ ถามว่าร้านแบบนี้สะดวกแค่ไหน ก็สะดวกชนิดที่ว่ามีร้านประเภทนี้อยู่ทุก 200 เมตร (เป็นคำเปรียบเปรยว่ามีเยอะมากทั่วไป) สาเหตุที่ร่มของญี่ปุ่นเป็นร่มใส ก็เพื่อประโยชน์ในการใช้งานล้วน ๆ นั่นคือ เพื่อไม่ให้ร่ม บังทัศนียภาพผู้อื่น (อึ้งกับความคิดเพื่อสาธารณะประโยชน์ของเขาไหมล่ะ) เพราะหากเวลาที่คนจำนวนมากถือร่มในชุมชน โอกาสที่จะมองไม่เห็นทางข้างหน้าและชนกันย่อมเกิดขึ้นได้มาก หากเป็นร่มทึบ ร่มชนิดนี้เรียกว่า คาซะ มาจากคำว่า วาคาซะ (ที่เป็นร่มกระดาษแบบร่มบ่อสร้างบ้านเรา ปัจจุบันเรามักเห็นการใช่ร่มกระดาษเวลาที่เขาสวมชุดประจำชาติกัน) สิ่งที่ทำให้ร่ม คาซะ เป็นที่นิยม ไม่ใช่แฟชั่น แต่เป็น ราคา และ ความสบายใจในการพกพา นั่นคือ นอกจากมันจะมีราคาถูก คันล่ะราว ๆ 300-500 เยน หรือราวๆ 60 - 100 บาทเศษ ๆ ดังนั้น ถ้าพกพาไปแล้วหลงลืมทำหาย ก็จะไม่เสียดายมากนักนั่นเอง Vee Chirasreshtha -