• 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 114 มุมมอง 0 รีวิว
  • ท่าเรือกรุงเทพ (คลองเตย) ท่าเรือของคนไทย

    ย้อนกลับไปหลายสิบปีก่อน ท่าเรือกรุงเทพเคยเป็นท่าเรือที่มีปริมาณสินค้าผ่านท่ามากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ตลอดเวลา 7 ทศวรรษที่เราเป็นฟันเฟืองหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยและสนับสนุนการค้าที่มีมูลค่ามหาศาลในแต่ละปี

    และด้วยโครงการพัฒนาท่าเรือกรุงเทพในอนาคตอันใกล้นี้ จะพร้อมพิสูจน์ศักยภาพในการสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศและร่วมเป็นกลไกในการพัฒนาสภาพของมหานครกรุงเทพฯ ให้เห็นอย่างชัดเจน

    การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของห่วงโซ่อุปทานหลักของประเทศย่อมจะทพให้เกิดมูลค่าเชิงเศรษฐกิจอย่างมหาศาล อันจะทำให้สังคมไทยมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

    เราจะลงทุนในกาสิโนเพื่อส่งเสริมสิ่งใดกัน?



    #SaveBangkokPort

    ร่วมสกัดนักการเมืองฉ้อฉล ปล้นทรัพย์แผ่นดิน
    ท่าเรือกรุงเทพ (คลองเตย) ท่าเรือของคนไทย ย้อนกลับไปหลายสิบปีก่อน ท่าเรือกรุงเทพเคยเป็นท่าเรือที่มีปริมาณสินค้าผ่านท่ามากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ตลอดเวลา 7 ทศวรรษที่เราเป็นฟันเฟืองหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยและสนับสนุนการค้าที่มีมูลค่ามหาศาลในแต่ละปี และด้วยโครงการพัฒนาท่าเรือกรุงเทพในอนาคตอันใกล้นี้ จะพร้อมพิสูจน์ศักยภาพในการสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศและร่วมเป็นกลไกในการพัฒนาสภาพของมหานครกรุงเทพฯ ให้เห็นอย่างชัดเจน การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของห่วงโซ่อุปทานหลักของประเทศย่อมจะทพให้เกิดมูลค่าเชิงเศรษฐกิจอย่างมหาศาล อันจะทำให้สังคมไทยมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เราจะลงทุนในกาสิโนเพื่อส่งเสริมสิ่งใดกัน? #SaveBangkokPort ร่วมสกัดนักการเมืองฉ้อฉล ปล้นทรัพย์แผ่นดิน
    Like
    Love
    3
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 619 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 231 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 164 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส่งกำลังใจแด่ทหารหาญทุกหมู่เหล่า
    ที่ช่วยเหลือเราชาวไทยในทุกสถานการณ์
    เพลง เรารักทหารไทย
    Shaw Sherry Duck (ชอว์ เชอร์รี่ดั๊ก)
    เรียบเรียง​ อ.สุ​พิษ​ เล็บ​ขาว​&เฮียช​อว์​
    ขอขอบคุณ
    คลิปภาพจากสื่อทุกคลิป
    #เรารักทหารไทย #คนไทยไม่ทิ้งกัน
    #น้ำท่วม2567 #เชียงราย #น่าน #พะเยา #แพร่ #สุโขทัย #เชียงใหม่ #อุตรดิตถ์ #ภูเก็ต#กำลังใจ #shawsherryduck #ชอว์เชอร์รี่ดั๊ก
    ส่งกำลังใจแด่ทหารหาญทุกหมู่เหล่า ที่ช่วยเหลือเราชาวไทยในทุกสถานการณ์ เพลง เรารักทหารไทย Shaw Sherry Duck (ชอว์ เชอร์รี่ดั๊ก) เรียบเรียง​ อ.สุ​พิษ​ เล็บ​ขาว​&เฮียช​อว์​ ขอขอบคุณ คลิปภาพจากสื่อทุกคลิป #เรารักทหารไทย #คนไทยไม่ทิ้งกัน #น้ำท่วม2567 #เชียงราย #น่าน #พะเยา #แพร่ #สุโขทัย #เชียงใหม่ #อุตรดิตถ์ #ภูเก็ต​ #กำลังใจ #shawsherryduck #ชอว์เชอร์รี่ดั๊ก
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 926 มุมมอง 49 0 รีวิว
  • ตลาดหลักทรัพย์ฯ เดินหน้าปรับปรุง 3 มาตรการ
    กำกับดูแลเพิ่มเติมจากมาตรการกำกับดูแล
    การขายชอร์ตและโปรแกรมเทรดดิ้ง
    ที่ได้ดำเนินการปรับปรุงไปแล้วก่อนหน้านี้
    เพื่อสร้างความเชื่อมั่นผู้ลงทุน
    เริ่มบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 2567 เป็นต้นไป
    สรุปได้ดังนี้

    1. เพิ่มความเข้มข้นของมาตรการกำกับการซื้อขายหลักทรัพย์
    ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติ (“มาตรการฯ”)
    จากมาตรการฯ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยเพิ่มวิธีจับคู่ซื้อขาย
    ในคราวเดียว (Auction) ตามช่วงเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนด
    สำหรับหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติ
    และตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนดให้เข้ามาตรการฯ
    ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป

    2. กำหนดกรอบราคาซื้อขายแบบ Dynamic Price Band
    เป็นรายหลักทรัพย์ (±10% จากราคาซื้อขายล่าสุดของหลักทรัพย์นั้น)
    เพิ่มเติมจาก Ceiling & Floor ในปัจจุบัน
    (±30% จากราคาปิดในวันทำการก่อนหน้า) เพื่อเพิ่มกลไก
    ในการควบคุมความผันผวนของราคาซื้อขายหลักทรัพย์

    3. กำหนดเวลาขั้นต่ำของคำสั่งซื้อขาย ก่อนที่จะสามารถแก้ไข
    หรือยกเลิกคำสั่งซื้อขาย (Minimum Resting Time)
    โดยคำสั่งซื้อขายจะต้องคงอยู่ในระบบอย่างน้อย 250 มิลลิวินาที
    จึงจะสามารถแก้ไขหรือยกเลิกคำสั่งได้ เพื่อชะลอและป้องกัน
    ไม่ให้เกิดคำสั่งซื้อขายในลักษณะใส่-ถอนที่มีความถี่มากจนเกินไป
    จนอาจทำให้ผู้ลงทุนเข้าใจผิดว่ามีความต้องการซื้อหรือขาย
    หลักทรัพย์ในปริมาณมาก

    ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #มาตรการกำกับดูแล
    #thaitimes
    🔥🔥ตลาดหลักทรัพย์ฯ เดินหน้าปรับปรุง 3 มาตรการ กำกับดูแลเพิ่มเติมจากมาตรการกำกับดูแล การขายชอร์ตและโปรแกรมเทรดดิ้ง ที่ได้ดำเนินการปรับปรุงไปแล้วก่อนหน้านี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นผู้ลงทุน เริ่มบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 2567 เป็นต้นไป สรุปได้ดังนี้ 🚩1. เพิ่มความเข้มข้นของมาตรการกำกับการซื้อขายหลักทรัพย์ ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติ (“มาตรการฯ”) จากมาตรการฯ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยเพิ่มวิธีจับคู่ซื้อขาย ในคราวเดียว (Auction) ตามช่วงเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนด สำหรับหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติ และตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนดให้เข้ามาตรการฯ ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไป 🚩2. กำหนดกรอบราคาซื้อขายแบบ Dynamic Price Band เป็นรายหลักทรัพย์ (±10% จากราคาซื้อขายล่าสุดของหลักทรัพย์นั้น) เพิ่มเติมจาก Ceiling & Floor ในปัจจุบัน (±30% จากราคาปิดในวันทำการก่อนหน้า) เพื่อเพิ่มกลไก ในการควบคุมความผันผวนของราคาซื้อขายหลักทรัพย์ 🚩3. กำหนดเวลาขั้นต่ำของคำสั่งซื้อขาย ก่อนที่จะสามารถแก้ไข หรือยกเลิกคำสั่งซื้อขาย (Minimum Resting Time) โดยคำสั่งซื้อขายจะต้องคงอยู่ในระบบอย่างน้อย 250 มิลลิวินาที จึงจะสามารถแก้ไขหรือยกเลิกคำสั่งได้ เพื่อชะลอและป้องกัน ไม่ให้เกิดคำสั่งซื้อขายในลักษณะใส่-ถอนที่มีความถี่มากจนเกินไป จนอาจทำให้ผู้ลงทุนเข้าใจผิดว่ามีความต้องการซื้อหรือขาย หลักทรัพย์ในปริมาณมาก ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย #หุ้นติดดอย #การลงทุน #ตลาดหุ้นไทย #SET #มาตรการกำกับดูแล #thaitimes
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 830 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
  • โพสนี้ขอดราม่านิด ๆ เพราะความไม่เข้าใจว่าสิ่งนี้ควรหรือไม่ ?
    ....
    บ่ายนี้ lit nit พาอาไปเที่ยววัดแห่งหนึ่ง วัดแห่งนี้กำลังสร้างโบสถ์ ซึ่งก็เสร็จมาได้มากโขอยู่ และผู้คนก็เริ่มหลั่งไหลมาเที่ยว ชุมชนแถวนั้นได้ขายของมีรายได้ แต่ lit nit กลับหมองเศร้าในใจ
    ....
    อุโบสถแห่งนี้( หรือที่เราเรียกว่าโบสถ์) สร้างได้สวยงามมาก ๆ ตั้งแต่พื้นจรดหลังคา นั่นคือเหตุทำให้ผู้คนแห่มาเที่ยวกันมากมาย มากมายเสียจน lit nit เห็นว่านี่มันไม่ใช่เขตสังฆกรรมของสงฆ์แล้วล่ะ มันกลายเป็นแลนด์มาร์กไปเสียแล้ว
    ....
    คำถามมากมายเกิดขึ้นในหัว
    - เราไม่มีวิธีอื่นที่จะดึงผู้คนเข้ามาวัดหรือเข้ามาศึกษาพุทธศาสนาแล้วหรือ ?
    - ถ้าวัดจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือสังคม เราจะเว้นโบสถ์ไว้สักที่หนึ่งไม่ได้หรือ ให้โบสถ์ยังคงเป็นที่ ๆ รักษาความเป็นพุทธ เป็นพื้นที่ที่พระสงฆ์ใช้ในการทำหน้าที่ที่พึงกระทำ ให้เป็นที่ที่ชาวพุทธได้ศึกษาประวัติ คำสอน และศึกษาความเป็นศาสนาพุทธ
    - เดี๋ยวนี้วัดส่วนใหญ่เริ่มชูการท่องเที่ยวมากกว่าการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาทางใจให้กับมนุษย์โลกแล้วใช่ไหม
    ....
    มีคำถามอีกมากมายที่ทำให้เอะใจว่าสรุปสิ่งนี้
    ควรหรือไม่ควร คิดมากใจก็เศร้าหมอง หน้าตาก็เลยหม่น ๆ ไม่สดชื่น กลับมาถึงบ้าน lit nit ก็เลยสอยมะพร้าวมาล้างหน้า เพราะโบราณว่า
    #น้ำมะพร้าวล้างหน้าแล้วจะจำอะไรไม่ได้555
    โพสนี้ขอดราม่านิด ๆ เพราะความไม่เข้าใจว่าสิ่งนี้ควรหรือไม่ ? .... บ่ายนี้ lit nit พาอาไปเที่ยววัดแห่งหนึ่ง วัดแห่งนี้กำลังสร้างโบสถ์ ซึ่งก็เสร็จมาได้มากโขอยู่ และผู้คนก็เริ่มหลั่งไหลมาเที่ยว ชุมชนแถวนั้นได้ขายของมีรายได้ แต่ lit nit กลับหมองเศร้าในใจ .... อุโบสถแห่งนี้( หรือที่เราเรียกว่าโบสถ์) สร้างได้สวยงามมาก ๆ ตั้งแต่พื้นจรดหลังคา นั่นคือเหตุทำให้ผู้คนแห่มาเที่ยวกันมากมาย มากมายเสียจน lit nit เห็นว่านี่มันไม่ใช่เขตสังฆกรรมของสงฆ์แล้วล่ะ มันกลายเป็นแลนด์มาร์กไปเสียแล้ว .... คำถามมากมายเกิดขึ้นในหัว - เราไม่มีวิธีอื่นที่จะดึงผู้คนเข้ามาวัดหรือเข้ามาศึกษาพุทธศาสนาแล้วหรือ ? - ถ้าวัดจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือสังคม เราจะเว้นโบสถ์ไว้สักที่หนึ่งไม่ได้หรือ ให้โบสถ์ยังคงเป็นที่ ๆ รักษาความเป็นพุทธ เป็นพื้นที่ที่พระสงฆ์ใช้ในการทำหน้าที่ที่พึงกระทำ ให้เป็นที่ที่ชาวพุทธได้ศึกษาประวัติ คำสอน และศึกษาความเป็นศาสนาพุทธ - เดี๋ยวนี้วัดส่วนใหญ่เริ่มชูการท่องเที่ยวมากกว่าการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาทางใจให้กับมนุษย์โลกแล้วใช่ไหม .... มีคำถามอีกมากมายที่ทำให้เอะใจว่าสรุปสิ่งนี้ ควรหรือไม่ควร คิดมากใจก็เศร้าหมอง หน้าตาก็เลยหม่น ๆ ไม่สดชื่น กลับมาถึงบ้าน lit nit ก็เลยสอยมะพร้าวมาล้างหน้า เพราะโบราณว่า #น้ำมะพร้าวล้างหน้าแล้วจะจำอะไรไม่ได้555
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 706 มุมมอง 0 รีวิว
  • Walking along the road in Richmond, London. It’s cloudy but comfortable temperatures.
    Walking along the road in Richmond, London. It’s cloudy but comfortable temperatures.🤍
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 231 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • นิทานเรื่อง “Château Christophe”
    ตอนที่ 1
    เป็นเวลากว่า 6 ชั่วโมงที่สถานกงสุลอเมริกัน ที่เมือง Benghazi ประเทศลิเบีย ถูกโจมตีและถูกยึดได้ในที่สุด ในคืนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2012 หลังจากการโจมตีและสู้รบสิ้นสุดลง ร่างของฑูตอเมริกัน นาย Christopher J. Stevens ถูกลากออกมาจากซากตึกที่ไหม้และพังทลายอยู่ในบริเวณของสถานกงสุล เขาเป็นฑูตอเมริกันคนแรกที่ถูกสังหารโดยกองทัพต่างชาติในรอบ 30 ปี การตายของเขาถูกนำไปเป็นประเด็นทางการเมือง สาเหตุและการบุกโจมตีสถานกงสุ ลถูกบิดเบือน การตายของฑูต Stevens มีการสอบสวน วิเคราะห์ บอกเล่า เขียนเป็นหนังสือ สาระพัดเรื่อง ความจริงเป็นอย่างไร ยังไม่มีใครปริปากพูดออกมาตรง ๆ มันเป็นเรื่องน่าคิด น่าติดตาม เพราะมันจะเป็นทั้งใบเสร็จและอุทาหรณ์ในหลาย ๆ เรื่องให้แก่เรา
    เช้าวันที่ 11 กันยายน นาย Stevens ฑูตอเมริกันประจำประเทศลิเบีย นั่งทานอาหารเช้ากับชายคนหนึ่ง ชื่อ Habib Budaker ที่สถานกงสุลเมือง Benghazi
    นี่เป็นครั้งแรกที่นาย Stevens กลับมาเมือง Benghazi หลังจากรับตำแหน่งฑูต เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2011 และใช้เวลาปฎิบัติหน้าที่ “ฑูต” ทำงานอยู่รอบ ๆ ตัวเมืองนอกสถานฑูตที่เมือง Tripoli แต่เมื่อนาย Bubaker ไปรับเขาที่สนามบิน Benghazi เช้าวันที่ 10 นาย Stevens บอกกับ Budaker ว่า “ผมตื่นเต้นที่ได้กลับมา” Budaker รู้จักฑูต Stevens มากว่า 1 ปีแล้ว โดยการแนะนำตัวเองกับนาย Stevens เมื่อเดือนเมษายน 2011 หลังจากการปฎิวัติของชาวลิเบียเริ่มเกิดขึ้นได้สัก 2 เดือน นาย Stevens ก็ถูกส่งให้มาที่ Bengazi ในฐานะตัวแทนของอเมริกาสำหรับรัฐบาลผสมที่เกิดจากการปฏิวัติ อเมริกาได้เลือกข้างเรียบร้อยแล้ว ว่าจะอยู่กับฝ่ายไหนในสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ และ Stevens ได้รับการมอบหมายให้มาสร้างสัมพันธ์กับประชาชนที่อเมริกาคาดว่า ในที่สุดจะเป็นฝ่ายปกครองประเทศ
    Bubakar เป็นเจ้าของโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษในเมือง และเสนอตัวเป็นล่ามให้แก่ Stevens นาย Stevens เองพูดภาษาอารบิคได้ แต่เขาอยากใช้สำนวนภาษาการฑูตซึ่งชัดเจนกว่าในการเจรจาที่เป็นทางการ เขาจึงเลือกที่จะพูดภาษาอังกฤษ ขณะเดียวกัน Bubaker เป็นผู้พา Stevens เข้ารู้จักองค์กรภาคธุรกิจและทำหน้าที่เป็นเหมือนมือขวาของ Stevens ตลอดเวลาการสู้รบ ตั้งแต่ช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนของสงคราม เขานับตัวเองว่าเป็นเพื่อนของ Stevens หลาย ๆ คน ก็คิดอย่างนั้น เพราะ Stevens เป็นคนประเภทคบเป็นเพื่อนง่าย
    Stevens ตั้งใจจะอยู่ที่ Benghazi เพียง 5 วัน เขามีประชุมวันจันทร์ที่ในเมือง และจะมีอีกหลายนัดนอกบริเวณกงสุลในวันพุธ ส่วนวันพฤหัส ดูเหมือนจะเป็นวันสำคัญที่สุดของการมา Benghazi เขาตั้งใจจะส่งมอบ “Benghazi Mission” ให้กับชาวลิเบีย และบริเวณกงสุลอเมริกันจะเรียกชื่อใหม่ว่า “An American Space” โดยจะมีการสอนภาษาอังกฤษให้ชาวพื้นเมือง รวมทั้งการเข้าไปใช้อินเตอร์เน็ท การฉายภาพยนต์และมีห้องสมุด โดยฝ่ายอเมริกาจะจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ หนังสือ และอุปกรณ์จำเป็นต่าง ๆ สนับสนุน และมอบให้เป็นสมบัติของคนพื้นเมือง ให้คนพื้นเมืองดูแลเอง Stevens หวังว่า “An American Spece” นี้ จะเป็นตัวอย่างของการเป็นหุ้นส่วนของ 2 ประเทศ หากได้มีการร่วมมือกัน
    Stevens มีความรู้สึกผูกพันธ์กับ Benghazi เมืองซึ่งชาวเมืองแสดงการต่อต้าน Qaddafi เป็นครั้งแรก เพราะเขาอยู่กับชาวเมืองตลอดเวลาของการต่อต้านนั้น ระหว่างการปฏิวัติ เขาใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ตามถนน พูดคุย คลุกคลี และสำรวจเมือง Benghazi และผู้คน นาย Nathan tek เจ้าหน้าที่สถานฑูต รุ่นหนุ่มที่อยู่กับ Stevens มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011 บอกว่า Stevens ชอบที่จะสำรวจเมืองอย่าง โดยไม่ต้องมีหน่วยคุ้มกันตัวโตถือปืนเดินตามประกบ เขาบอกว่า การที่เรามีเพื่อนมาก และเขาเห็นเราเป็นแขกของเขานั้นแหละสำคัญที่สุด
    ซึ่งชาว Benghazi โดยทั่วไปก็แสดงความเป็นมิตร แม้ในช่วงเดือนกันยายนนั้นเอง จะมีทหารเดินอยู่เต็มเมือง Stevens ก็เพียงแค่ปรับเปลี่ยนตารางของเขา เขาเอาบอดี้การ์ดมาด้วย 2 คนจาก Tripoli รวมกับอีก 3 คนจากหน่วยความมั่นคงที่ประจำที่ Benghazi อยู่แล้ว เขายกเลิกการวิ่งตอนเช้านอกบริเวณกงสุล และจัดให้การนัดพบทุกรายการอยู่ในบริเวณกงสุล อเมริกาได้ตั้งสถานกงสุลตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2011 หลังจากโรงแรมที่พวกเขาเคยพักถูก ระเบิดถล่ม เขาเช่าวิลล่า 3 หลัง บริเวณติดต่อกัน ทุบกำแพงระหว่างวิลล่าทิ้ง และล้อมบริเวณ 3 วิลล่า เสียใหม่เป็นบริเวณเดียว ทำให้เป็นตึกเตี้ย ๆ 4 หลัง อยู่ท่ามกลางเถาต้นองุ่นและต้นฝรั่ง เพื่อนร่วมงานล้อเลียน Stevens ว่าสถานที่นี้น่าจะเรียกว่า “Château Christophe” แบบโรงผลิตไวน์มีชื่อ
    Château Christophe ถึงแม้จะเป็นเพียงสถานที่ชั่วคราว แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่มีการป้องกันอย่างเหมาะสม สถานที่กว้าง 300 หลา และลึก 300 หลา ทำให้ตัวตึกอยู่ลึกเข้ามาจากรั้วมากพอที่จะป้องกันการจู่โจมจากด้านนอก รั้วทุกด้านสูง 9 ฟุต และมีลวดหนามไฟฟ้ากั้นสูงไปจากรั้วอีก 3 ฟุต มีแผ่นเหล็กปลดลงมา ไว้ปิดกั้นไม่ให้รถวิ่งเข้ามาได้ และมีแท่งคอนกรีตกั้นทั้งภายในภายนอก สำหรับป้องกันการใช้รถวิ่งชน มีจอและกล้องคอยเฝ้า (monitor) ดูแลความปลอดภัยรอบบริเวณ ส่วนในบริเวณชั้นใน มีแผ่นเหล็กสำหรับปลดมาปิดกั้นและล็อคได้อีกชั้นหนึ่ง เพื่อสามารถเปลี่ยนให้ภายในตึก นี้กลายเป็นห้องนิรภัย และภายในห้องนี้ ยังมีห้องเล็ก หลบซ่อนอยู่อีก ห้องเล็กนี้มีอาหาร น้ำ และเครื่องเวชภัณฑ์ โดยมองจากข้างนอกไม่มีทางเห็น
    Château Christophe ถือว่ามีการดูแลที่ปลอดภัย เพียงพอสำหรับการปฎิบัติงานของคนระดับฑูตอเมริกัน Benghazi ต่างหากที่ยังไม่ปลอดภัย รัฐบาลลิเบียยังต้องจัดให้มีกำลังตำรวจที่เหมาะสม ความรุนแรงในเมืองมีอยู่ตลอดหน้าร้อน รวมทั้งบางส่วนยังมีเป้าหมายต่อต้านชาวตะวันตก จริง ๆ แล้ว Stevens ได้แจ้งไปทางวอชิงตันในเช้าวันที่ 11 นั้น เพื่อเตือนความจำเรื่องการไม่มีกฎหมายใช้บังคับที่ Benghazi ถึงอย่างนั้นตัวเมืองก็ดูสงบพอสมควรเมื่อ Stevens มาถึงและเขาคิดว่ามันคงจะเป็นเช่นนั้นต่อไป
    Bubaker อยู่กับ Stevens ตลอดการประชุมต่าง ๆ ในตอนเช้า บ่าย 3 โมง เขาเช็คตารางของวันพุธ ซึ่งแน่นเต็ม นัดสุดท้ายของ Stevens วันนั้น คือ กาแฟกับนักการฑูตตุรกี ซึ่งเสร็จประมาณ 2 ทุ่มครึ่ง Stevens เดินไปส่งแขกที่ประตูหน้า ซึ่งมีกองกำลังรักษาความปลอดภัย ซึ่งจ้างมาจากกองทหารที่ 17th of February Martyrs Brigade ซึ่งเป็นมิตรกับชาวอเมริกัน
    ประมาณ 700 ไมล์ไปทางตะวันออก ฝูงชนกำลังล้อมสถานฑูตสหรัฐที่กรุงไคโร ด้วยความเคียดแค้นจากวิดีโอ ซึ่งมีเนื้อความละเมิดพระศาสดามูฮะหมัด แต่ทาง Benghazi ยังเงียบสงบ ถนนหน้า Château Christophe ว่างเปล่า
    Stevens เดินกลับมาที่ห้องของเขาที่ตึกกลาง ประมาณ 3 ทุ่ม 40 นาที เขาได้ยินเสียงปืนดัง เสียงปืนดังแบบนี้ไม่ใช่เรื่องแปลกสำหรับอาหรับยามค่ำคืน เสียงปืนดัง บางทีก็หมายถึงการฉลอง Stevens เคยบอกกับน้องชาย และเคยพูดตลกกับ Bubaker เวลาเขาได้ยินเสียงปืนว่า สงสัยวันนี้มีงานแต่งงานนะ แต่วันนี้จอควบคุมความปลอดภัยของกงสุล เห็นกลุ่มคนกำลังปีนเข้ามาที่ประตูหน้า
    คนเล่านิทาน
    7 มิย. 57
    นิทานเรื่อง “Château Christophe” ตอนที่ 1 เป็นเวลากว่า 6 ชั่วโมงที่สถานกงสุลอเมริกัน ที่เมือง Benghazi ประเทศลิเบีย ถูกโจมตีและถูกยึดได้ในที่สุด ในคืนวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2012 หลังจากการโจมตีและสู้รบสิ้นสุดลง ร่างของฑูตอเมริกัน นาย Christopher J. Stevens ถูกลากออกมาจากซากตึกที่ไหม้และพังทลายอยู่ในบริเวณของสถานกงสุล เขาเป็นฑูตอเมริกันคนแรกที่ถูกสังหารโดยกองทัพต่างชาติในรอบ 30 ปี การตายของเขาถูกนำไปเป็นประเด็นทางการเมือง สาเหตุและการบุกโจมตีสถานกงสุ ลถูกบิดเบือน การตายของฑูต Stevens มีการสอบสวน วิเคราะห์ บอกเล่า เขียนเป็นหนังสือ สาระพัดเรื่อง ความจริงเป็นอย่างไร ยังไม่มีใครปริปากพูดออกมาตรง ๆ มันเป็นเรื่องน่าคิด น่าติดตาม เพราะมันจะเป็นทั้งใบเสร็จและอุทาหรณ์ในหลาย ๆ เรื่องให้แก่เรา เช้าวันที่ 11 กันยายน นาย Stevens ฑูตอเมริกันประจำประเทศลิเบีย นั่งทานอาหารเช้ากับชายคนหนึ่ง ชื่อ Habib Budaker ที่สถานกงสุลเมือง Benghazi นี่เป็นครั้งแรกที่นาย Stevens กลับมาเมือง Benghazi หลังจากรับตำแหน่งฑูต เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2011 และใช้เวลาปฎิบัติหน้าที่ “ฑูต” ทำงานอยู่รอบ ๆ ตัวเมืองนอกสถานฑูตที่เมือง Tripoli แต่เมื่อนาย Bubaker ไปรับเขาที่สนามบิน Benghazi เช้าวันที่ 10 นาย Stevens บอกกับ Budaker ว่า “ผมตื่นเต้นที่ได้กลับมา” Budaker รู้จักฑูต Stevens มากว่า 1 ปีแล้ว โดยการแนะนำตัวเองกับนาย Stevens เมื่อเดือนเมษายน 2011 หลังจากการปฎิวัติของชาวลิเบียเริ่มเกิดขึ้นได้สัก 2 เดือน นาย Stevens ก็ถูกส่งให้มาที่ Bengazi ในฐานะตัวแทนของอเมริกาสำหรับรัฐบาลผสมที่เกิดจากการปฏิวัติ อเมริกาได้เลือกข้างเรียบร้อยแล้ว ว่าจะอยู่กับฝ่ายไหนในสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ และ Stevens ได้รับการมอบหมายให้มาสร้างสัมพันธ์กับประชาชนที่อเมริกาคาดว่า ในที่สุดจะเป็นฝ่ายปกครองประเทศ Bubakar เป็นเจ้าของโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษในเมือง และเสนอตัวเป็นล่ามให้แก่ Stevens นาย Stevens เองพูดภาษาอารบิคได้ แต่เขาอยากใช้สำนวนภาษาการฑูตซึ่งชัดเจนกว่าในการเจรจาที่เป็นทางการ เขาจึงเลือกที่จะพูดภาษาอังกฤษ ขณะเดียวกัน Bubaker เป็นผู้พา Stevens เข้ารู้จักองค์กรภาคธุรกิจและทำหน้าที่เป็นเหมือนมือขวาของ Stevens ตลอดเวลาการสู้รบ ตั้งแต่ช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนของสงคราม เขานับตัวเองว่าเป็นเพื่อนของ Stevens หลาย ๆ คน ก็คิดอย่างนั้น เพราะ Stevens เป็นคนประเภทคบเป็นเพื่อนง่าย Stevens ตั้งใจจะอยู่ที่ Benghazi เพียง 5 วัน เขามีประชุมวันจันทร์ที่ในเมือง และจะมีอีกหลายนัดนอกบริเวณกงสุลในวันพุธ ส่วนวันพฤหัส ดูเหมือนจะเป็นวันสำคัญที่สุดของการมา Benghazi เขาตั้งใจจะส่งมอบ “Benghazi Mission” ให้กับชาวลิเบีย และบริเวณกงสุลอเมริกันจะเรียกชื่อใหม่ว่า “An American Space” โดยจะมีการสอนภาษาอังกฤษให้ชาวพื้นเมือง รวมทั้งการเข้าไปใช้อินเตอร์เน็ท การฉายภาพยนต์และมีห้องสมุด โดยฝ่ายอเมริกาจะจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ หนังสือ และอุปกรณ์จำเป็นต่าง ๆ สนับสนุน และมอบให้เป็นสมบัติของคนพื้นเมือง ให้คนพื้นเมืองดูแลเอง Stevens หวังว่า “An American Spece” นี้ จะเป็นตัวอย่างของการเป็นหุ้นส่วนของ 2 ประเทศ หากได้มีการร่วมมือกัน Stevens มีความรู้สึกผูกพันธ์กับ Benghazi เมืองซึ่งชาวเมืองแสดงการต่อต้าน Qaddafi เป็นครั้งแรก เพราะเขาอยู่กับชาวเมืองตลอดเวลาของการต่อต้านนั้น ระหว่างการปฏิวัติ เขาใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ตามถนน พูดคุย คลุกคลี และสำรวจเมือง Benghazi และผู้คน นาย Nathan tek เจ้าหน้าที่สถานฑูต รุ่นหนุ่มที่อยู่กับ Stevens มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011 บอกว่า Stevens ชอบที่จะสำรวจเมืองอย่าง โดยไม่ต้องมีหน่วยคุ้มกันตัวโตถือปืนเดินตามประกบ เขาบอกว่า การที่เรามีเพื่อนมาก และเขาเห็นเราเป็นแขกของเขานั้นแหละสำคัญที่สุด ซึ่งชาว Benghazi โดยทั่วไปก็แสดงความเป็นมิตร แม้ในช่วงเดือนกันยายนนั้นเอง จะมีทหารเดินอยู่เต็มเมือง Stevens ก็เพียงแค่ปรับเปลี่ยนตารางของเขา เขาเอาบอดี้การ์ดมาด้วย 2 คนจาก Tripoli รวมกับอีก 3 คนจากหน่วยความมั่นคงที่ประจำที่ Benghazi อยู่แล้ว เขายกเลิกการวิ่งตอนเช้านอกบริเวณกงสุล และจัดให้การนัดพบทุกรายการอยู่ในบริเวณกงสุล อเมริกาได้ตั้งสถานกงสุลตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2011 หลังจากโรงแรมที่พวกเขาเคยพักถูก ระเบิดถล่ม เขาเช่าวิลล่า 3 หลัง บริเวณติดต่อกัน ทุบกำแพงระหว่างวิลล่าทิ้ง และล้อมบริเวณ 3 วิลล่า เสียใหม่เป็นบริเวณเดียว ทำให้เป็นตึกเตี้ย ๆ 4 หลัง อยู่ท่ามกลางเถาต้นองุ่นและต้นฝรั่ง เพื่อนร่วมงานล้อเลียน Stevens ว่าสถานที่นี้น่าจะเรียกว่า “Château Christophe” แบบโรงผลิตไวน์มีชื่อ Château Christophe ถึงแม้จะเป็นเพียงสถานที่ชั่วคราว แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่มีการป้องกันอย่างเหมาะสม สถานที่กว้าง 300 หลา และลึก 300 หลา ทำให้ตัวตึกอยู่ลึกเข้ามาจากรั้วมากพอที่จะป้องกันการจู่โจมจากด้านนอก รั้วทุกด้านสูง 9 ฟุต และมีลวดหนามไฟฟ้ากั้นสูงไปจากรั้วอีก 3 ฟุต มีแผ่นเหล็กปลดลงมา ไว้ปิดกั้นไม่ให้รถวิ่งเข้ามาได้ และมีแท่งคอนกรีตกั้นทั้งภายในภายนอก สำหรับป้องกันการใช้รถวิ่งชน มีจอและกล้องคอยเฝ้า (monitor) ดูแลความปลอดภัยรอบบริเวณ ส่วนในบริเวณชั้นใน มีแผ่นเหล็กสำหรับปลดมาปิดกั้นและล็อคได้อีกชั้นหนึ่ง เพื่อสามารถเปลี่ยนให้ภายในตึก นี้กลายเป็นห้องนิรภัย และภายในห้องนี้ ยังมีห้องเล็ก หลบซ่อนอยู่อีก ห้องเล็กนี้มีอาหาร น้ำ และเครื่องเวชภัณฑ์ โดยมองจากข้างนอกไม่มีทางเห็น Château Christophe ถือว่ามีการดูแลที่ปลอดภัย เพียงพอสำหรับการปฎิบัติงานของคนระดับฑูตอเมริกัน Benghazi ต่างหากที่ยังไม่ปลอดภัย รัฐบาลลิเบียยังต้องจัดให้มีกำลังตำรวจที่เหมาะสม ความรุนแรงในเมืองมีอยู่ตลอดหน้าร้อน รวมทั้งบางส่วนยังมีเป้าหมายต่อต้านชาวตะวันตก จริง ๆ แล้ว Stevens ได้แจ้งไปทางวอชิงตันในเช้าวันที่ 11 นั้น เพื่อเตือนความจำเรื่องการไม่มีกฎหมายใช้บังคับที่ Benghazi ถึงอย่างนั้นตัวเมืองก็ดูสงบพอสมควรเมื่อ Stevens มาถึงและเขาคิดว่ามันคงจะเป็นเช่นนั้นต่อไป Bubaker อยู่กับ Stevens ตลอดการประชุมต่าง ๆ ในตอนเช้า บ่าย 3 โมง เขาเช็คตารางของวันพุธ ซึ่งแน่นเต็ม นัดสุดท้ายของ Stevens วันนั้น คือ กาแฟกับนักการฑูตตุรกี ซึ่งเสร็จประมาณ 2 ทุ่มครึ่ง Stevens เดินไปส่งแขกที่ประตูหน้า ซึ่งมีกองกำลังรักษาความปลอดภัย ซึ่งจ้างมาจากกองทหารที่ 17th of February Martyrs Brigade ซึ่งเป็นมิตรกับชาวอเมริกัน ประมาณ 700 ไมล์ไปทางตะวันออก ฝูงชนกำลังล้อมสถานฑูตสหรัฐที่กรุงไคโร ด้วยความเคียดแค้นจากวิดีโอ ซึ่งมีเนื้อความละเมิดพระศาสดามูฮะหมัด แต่ทาง Benghazi ยังเงียบสงบ ถนนหน้า Château Christophe ว่างเปล่า Stevens เดินกลับมาที่ห้องของเขาที่ตึกกลาง ประมาณ 3 ทุ่ม 40 นาที เขาได้ยินเสียงปืนดัง เสียงปืนดังแบบนี้ไม่ใช่เรื่องแปลกสำหรับอาหรับยามค่ำคืน เสียงปืนดัง บางทีก็หมายถึงการฉลอง Stevens เคยบอกกับน้องชาย และเคยพูดตลกกับ Bubaker เวลาเขาได้ยินเสียงปืนว่า สงสัยวันนี้มีงานแต่งงานนะ แต่วันนี้จอควบคุมความปลอดภัยของกงสุล เห็นกลุ่มคนกำลังปีนเข้ามาที่ประตูหน้า คนเล่านิทาน 7 มิย. 57
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1037 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 202 มุมมอง 0 รีวิว
  • นิทานเรื่อง “Château Christophe”
    ตอนที่ 2
    Stevens มาเมือง Benghazi ครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2011 เขามาทางเรือบรรทุกสินค้า ซึ่งแล่นมาจาก Malta เป็นเรือเปล่า โดยซ่อนตัวอยู่ในเรือนั้นกับ Nathan Tek เจ้าหน้าด้านความปลอดภัย ทีมงานของ USAID และลูกเรือโดยชาวกรีกและโรมาเนีย ซึ่งไม่รู้เรื่องอะไร เคยมีคนถามเขาว่ามาทางอื่นไม่ได้หรือไง Stevens บอกว่าเส้นทางนี้มันน่าตื่นเต้นดี เหมือนการผจญภัยในหนังโรแมนติก
    Stevens เป็นตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดสำหรับ “Mission” เขาเป็นนักการฑูตที่ใช้ชีวิตการฑูตอยู่แถบตะวันออกกลางและอาฟริกา มาประมาณ 20 ปี เขาเป็นชาวแคลิฟอร์เนีย ท่าทางสบาย ๆ ยิ้มกว้าง เห็นฟันโตเต็มปาก มีชื่อเสียงว่าเป็นคนอดทนและใจเย็น และที่สำคัญเขารู้จักลิเบียอย่างดี เขาเคยเป็นผู้ช่วยฑูตอยู่ที่ Tripoli 2 ปี เมื่อประมาณปี 2007 ตอนนั้นอเมริกายังเป็นมิตรมีไมตรีกับ Qaddafi อยู่
    Stevens เติบโตมาที่ Northern California ย้ายมาเรื่อย จนในที่สุดอยู่ San Francisco เมื่อตอนที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย Berkley เขาเลือกเรียนวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอก รวมทั้งวิชาตรรกวิทยา อิตาเลียน ฯลฯ เพื่อน ๆ บอกไอ้หมอนี้ มันเหมือนตู้หนังสือเดินได้ เขาตัดสินใจตั้งแต่ยังเรียนอยู่ที่ Berkley ว่าจะเป็นนักการฑูต เมื่อเรียนจบก็ไปสอบที่กระทรวงต่างประเทศ แต่ไม่ผ่าน เขาเลยสมัครเป็น Peace Corps และไปสอนภาษาอังกฤษอยู่แถวเมือ งบนภูเขาในโมรอคโค ซึ่งแถบจะไม่มีผู้คน มีแต่พรม และธรรมชาติที่แสนจะงดงาม ทำให้ Stevens หลงรักเมืองแถบอาหรับ เมื่อเขาจบเทอม 2 ปี ของการเป็น Peace Corps เขากลับมา California และเรียนกฎหมายต่อจบได้ปริญญา และทำงานในสำนักงานกฎหมายหรูหรามีชื่อเสียงอยู่ในกรุงวอชิงตัน
    แต่เขาไม่เคยลืมความฝันที่จะเป็นนัการฑูต เขาเลยกลับไปสอบกับกระทรวงต่างประเทศใหม่ คราวนี้สอบผ่าน ค.ศ. 1991 เขาเริ่มฝึกงานและไปประจำอยู่ Riyadh หลังจากนั้นก็ย้ายไปตามเมือง ต่าง ๆ ในแถบทะเลทราย ซึ่งพวกฑูตเรียกกันว่า “Sandbox” เขาเรียนภาษาอารบิคที่ Tunisia หลังจากนั้นก็ย้ายไปอยู่ Cairo, Damacus และ Jeusalem เมื่อย้ายกลับไปอยู่วอชิงตัน เขายังมีหน้าที่ดูแล Iran เขาวนเวียนอยู่แถว Sandbox นี้แหละ
    เขาไม่เคยได้รับตำแหน่งที่มาอยู่แถบ Asia หรือ Scandinavia เลย ระหว่างที่วนเวียนอยู่แถบนั้น เขามีแฟนเป็นชาวยุโรป ชื่อ Henritte ซึ่งเจอกับ Stevens ที่ Jerusarem ตั้งแต่ปี 2003 รักๆเลิกๆอยู่ 9 ปี เธอบอกว่าเมื่อถาม Stevens ว่า เธอชอบฉันตรงไหน Stevens ตอบว่าฉันชอบกลิ่นของเธอ กลิ่นที่ปนอยู่กับกาแฟและถั่ว กลิ่นยาเส้นผสมน้ำแอปเปิ้ล ชอบสีของคนอาหรับ ชอบความรู้สึกเวลาสัมผัสกับพรมและผ้าไหม ชอบเสียงเวลาพวกเขาสวดมนตร์ และชอบวิถีชีวิตที่วุ่นวายสับสนของพวกเขา ชอบทิวทัศน์ของบ้านเมือง ชอบเพลง ชอบภาษา ทั้งหมดนี้มันแสดงให้เห็นรากเหง้าของพวกเขา ที่ยาวนาน เมื่อดูพร้อมกับการเมืองที่วุ่นวายของพวกเขาแล้ว มันเป็นเรื่องยิ่งกว่าน่าสนใจและท้าทาย มันทำให้เขารู้สึกมีชีวิตชีวา สาวบอกตกลงเธอชอบฉัน หรือชอบเมืองอาหรับกันแน่
    คนเล่านิทาน
    7 มิย. 57
    นิทานเรื่อง “Château Christophe” ตอนที่ 2 Stevens มาเมือง Benghazi ครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2011 เขามาทางเรือบรรทุกสินค้า ซึ่งแล่นมาจาก Malta เป็นเรือเปล่า โดยซ่อนตัวอยู่ในเรือนั้นกับ Nathan Tek เจ้าหน้าด้านความปลอดภัย ทีมงานของ USAID และลูกเรือโดยชาวกรีกและโรมาเนีย ซึ่งไม่รู้เรื่องอะไร เคยมีคนถามเขาว่ามาทางอื่นไม่ได้หรือไง Stevens บอกว่าเส้นทางนี้มันน่าตื่นเต้นดี เหมือนการผจญภัยในหนังโรแมนติก Stevens เป็นตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดสำหรับ “Mission” เขาเป็นนักการฑูตที่ใช้ชีวิตการฑูตอยู่แถบตะวันออกกลางและอาฟริกา มาประมาณ 20 ปี เขาเป็นชาวแคลิฟอร์เนีย ท่าทางสบาย ๆ ยิ้มกว้าง เห็นฟันโตเต็มปาก มีชื่อเสียงว่าเป็นคนอดทนและใจเย็น และที่สำคัญเขารู้จักลิเบียอย่างดี เขาเคยเป็นผู้ช่วยฑูตอยู่ที่ Tripoli 2 ปี เมื่อประมาณปี 2007 ตอนนั้นอเมริกายังเป็นมิตรมีไมตรีกับ Qaddafi อยู่ Stevens เติบโตมาที่ Northern California ย้ายมาเรื่อย จนในที่สุดอยู่ San Francisco เมื่อตอนที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย Berkley เขาเลือกเรียนวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอก รวมทั้งวิชาตรรกวิทยา อิตาเลียน ฯลฯ เพื่อน ๆ บอกไอ้หมอนี้ มันเหมือนตู้หนังสือเดินได้ เขาตัดสินใจตั้งแต่ยังเรียนอยู่ที่ Berkley ว่าจะเป็นนักการฑูต เมื่อเรียนจบก็ไปสอบที่กระทรวงต่างประเทศ แต่ไม่ผ่าน เขาเลยสมัครเป็น Peace Corps และไปสอนภาษาอังกฤษอยู่แถวเมือ งบนภูเขาในโมรอคโค ซึ่งแถบจะไม่มีผู้คน มีแต่พรม และธรรมชาติที่แสนจะงดงาม ทำให้ Stevens หลงรักเมืองแถบอาหรับ เมื่อเขาจบเทอม 2 ปี ของการเป็น Peace Corps เขากลับมา California และเรียนกฎหมายต่อจบได้ปริญญา และทำงานในสำนักงานกฎหมายหรูหรามีชื่อเสียงอยู่ในกรุงวอชิงตัน แต่เขาไม่เคยลืมความฝันที่จะเป็นนัการฑูต เขาเลยกลับไปสอบกับกระทรวงต่างประเทศใหม่ คราวนี้สอบผ่าน ค.ศ. 1991 เขาเริ่มฝึกงานและไปประจำอยู่ Riyadh หลังจากนั้นก็ย้ายไปตามเมือง ต่าง ๆ ในแถบทะเลทราย ซึ่งพวกฑูตเรียกกันว่า “Sandbox” เขาเรียนภาษาอารบิคที่ Tunisia หลังจากนั้นก็ย้ายไปอยู่ Cairo, Damacus และ Jeusalem เมื่อย้ายกลับไปอยู่วอชิงตัน เขายังมีหน้าที่ดูแล Iran เขาวนเวียนอยู่แถว Sandbox นี้แหละ เขาไม่เคยได้รับตำแหน่งที่มาอยู่แถบ Asia หรือ Scandinavia เลย ระหว่างที่วนเวียนอยู่แถบนั้น เขามีแฟนเป็นชาวยุโรป ชื่อ Henritte ซึ่งเจอกับ Stevens ที่ Jerusarem ตั้งแต่ปี 2003 รักๆเลิกๆอยู่ 9 ปี เธอบอกว่าเมื่อถาม Stevens ว่า เธอชอบฉันตรงไหน Stevens ตอบว่าฉันชอบกลิ่นของเธอ กลิ่นที่ปนอยู่กับกาแฟและถั่ว กลิ่นยาเส้นผสมน้ำแอปเปิ้ล ชอบสีของคนอาหรับ ชอบความรู้สึกเวลาสัมผัสกับพรมและผ้าไหม ชอบเสียงเวลาพวกเขาสวดมนตร์ และชอบวิถีชีวิตที่วุ่นวายสับสนของพวกเขา ชอบทิวทัศน์ของบ้านเมือง ชอบเพลง ชอบภาษา ทั้งหมดนี้มันแสดงให้เห็นรากเหง้าของพวกเขา ที่ยาวนาน เมื่อดูพร้อมกับการเมืองที่วุ่นวายของพวกเขาแล้ว มันเป็นเรื่องยิ่งกว่าน่าสนใจและท้าทาย มันทำให้เขารู้สึกมีชีวิตชีวา สาวบอกตกลงเธอชอบฉัน หรือชอบเมืองอาหรับกันแน่ คนเล่านิทาน 7 มิย. 57
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 742 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 202 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 217 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 208 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 213 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 208 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 118 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 180 มุมมอง 0 รีวิว