• The Great Reset 2 : Road to New World เส้นทางสู่โลกใหม่ | คนเคาะข่าว 15-04-68

    🌎 โลกกำลังจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป…The Great Reset 2 การรีเซ็ตโลกครั้งใหญ่ กำลังจะเปลี่ยนวิถีชีวิต เศรษฐกิจ และอนาคตของเราแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
    ใครจะอยู่รอด…ใครจะร่วง? รู้ก่อน คิดก่อน ปรับตัวทัน!

    แขกรับเชิญ : อ.ทวีสุข ธรรมศักดิ์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจและการลงทุนระหว่างประเทศ
    ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์

    #คนเคาะข่าว #TheGreatReset2 #รีเซ็ตโลก #อนาคตเศรษฐกิจ #วิกฤตโลก #เศรษฐกิจโลก #อุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่าน #ทวีสุขธรรมศักดิ์ #นงวดีถนิมมาลย์ #รู้ก่อนปรับตัวก่อน #thaitimes #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #อนาคตโลก #เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก #โลกอนาคต
    The Great Reset 2 : Road to New World เส้นทางสู่โลกใหม่ | คนเคาะข่าว 15-04-68 🌎 โลกกำลังจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป…The Great Reset 2 การรีเซ็ตโลกครั้งใหญ่ กำลังจะเปลี่ยนวิถีชีวิต เศรษฐกิจ และอนาคตของเราแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ใครจะอยู่รอด…ใครจะร่วง? รู้ก่อน คิดก่อน ปรับตัวทัน! แขกรับเชิญ : อ.ทวีสุข ธรรมศักดิ์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจและการลงทุนระหว่างประเทศ ดำเนินรายการโดย นงวดี ถนิมมาลย์ #คนเคาะข่าว #TheGreatReset2 #รีเซ็ตโลก #อนาคตเศรษฐกิจ #วิกฤตโลก #เศรษฐกิจโลก #อุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่าน #ทวีสุขธรรมศักดิ์ #นงวดีถนิมมาลย์ #รู้ก่อนปรับตัวก่อน #thaitimes #วิเคราะห์เศรษฐกิจ #อนาคตโลก #เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก #โลกอนาคต
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 59 มุมมอง 2 0 รีวิว
  • เก็บความทรงจำดีๆ เมื่อถึงเวลาจะเอามันออกมา #ฮีลใจ อีกครั้ง .. สุดท้าย #เทศกาลสงกรานต์ 2568
    #เก็บเวลาไว้ในขวดแก้ว

    #นมเย็นหมาที่เห่าได้น่ารำคาญที่สุด
    #โอริโอ้หมาจอมปาดหน้า
    #บราวนีหมาที่หม่ำได้ทุกอย่างขณะที่นอน
    เก็บความทรงจำดีๆ เมื่อถึงเวลาจะเอามันออกมา #ฮีลใจ อีกครั้ง .. สุดท้าย #เทศกาลสงกรานต์ 2568 #เก็บเวลาไว้ในขวดแก้ว #นมเย็นหมาที่เห่าได้น่ารำคาญที่สุด #โอริโอ้หมาจอมปาดหน้า #บราวนีหมาที่หม่ำได้ทุกอย่างขณะที่นอน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขออภัยที่มาอัพเรื่องให้อ่านช้า (อีกแล้ว) เพราะ Storyฯ หมดเวลาไปกับการเตรียมทริปเที่ยวหน้าหนาวค่ะ วันนี้ยังคงมีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยจากละครเรื่อง <ดาราจักรรักลำนำใจ> มาเล่าให้ฟัง เป็นเรื่องเกี่ยวกับชื่อของนางเอกเฉินเซ่าซาง ที่ในละครมีกล่าวถึงหลายครั้งว่าแปลว่า ‘สายพิณ’ และถึงขนาดองค์ฮองเฮายังตรัสชมว่าเป็นชื่อที่ดี

    เพื่อนเพจที่ได้ดูละครเรื่องนี้รู้สึกงงกันบ้างไหมว่า มีชื่อเป็นสายพิณมันดียังไงคะ?

    แน่นอนว่าเรากำลังคุยกันถึงพิณโบราณของจีนหรือที่เรียกว่า ‘กู่ฉิน’ (古琴) ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดมาก่อนยุคสมัยชุนชิวและการดีดพิณถือเป็นศิลปะชั้นสูงที่แฝงไว้ด้วยปรัชญาชีวิต โดยมีการกล่าวถึงปรัชญาเหล่านี้ในบันทึกเกี่ยวกับพิธีการโบราณสมัยราชวงศ์โจว วันนี้ Storyฯ จะกล่าวถึงชื่อเรียกและปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับสายพิณ

    แรกเริ่มเลยกู่ฉินมีเพียงสายพิณห้าเส้น เรียกกันว่า ‘กงซางเจวี๋ยจื่ออวี่’ ซึ่งชื่อเรียกเหล่านี้มาจากดวงดาว สรุปได้ดังนี้
    1. กง (宫) : เป็นเส้นที่ใหญ่สุด เสียงทุ้มหนักแน่น เป็นสัญลักษณ์แห่งราชัน แฝงด้วยปรัชญาแห่งการปกครองและความเป็นเจ้าคนนายคน และจัดเป็นตัวแทนแห่งธาตุดินหรือ ‘ดาวดิน’ (คือชื่อเรียกภาษาจีนของดาวเสาร์) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘โด’ นั่นเอง
    2. ซาง (商) : เป็นสัญลักษณ์ของข้าราชสำนักหรือรัฐบุรุษ แฝงด้วยปรัชญาแห่งการบริหารงาน และจัดเป็นตัวแทนแห่งธาตุทองหรือ ‘ดาวทอง’ (ดาวศุกร์) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘เร’
    3. เจวี๋ย (角) : เป็นสัญลักษณ์ของประชาชน แฝงด้วยปรัชญาแห่งการเติบโตจากผืนดิน และเป็นตัวแทนแห่งธาตุไม้หรือ ‘ดาวไม้’ (ดาวพฤหัส) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘มี’
    4. จื่อ (徵) : เป็นสัญลักษณ์แห่งทุกสรรพสิ่งที่จับต้องไม่ได้ แฝงด้วยปรัชญาแห่งการเจริญงอกงาม และเป็นตัวแทนแห่งธาตุไฟหรือ ‘ดาวไฟ’ (ดาวอังคาร) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘ฟา’
    5. อวี่ (羽) : เป็นสัญลักษณ์แห่งทุกสรรพสิ่งที่จับต้องได้ แฝงด้วยปรัชญาแห่งการหล่อหลอมกลมเกลียวและเป็นตัวแทนแห่งธาตุน้ำหรือ ‘ดาวน้ำ’ (ดาวพุธ) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘ซอล’

    ต่อมากู่ฉินจึงถูกเพิ่มสายพิณขึ้นมาอีกสองเส้น จนครบคีย์ ‘ลา’ และ ‘ที’

    โดยเส้นที่หกเรียกว่า ‘เซ่ากง’ (少宫) เป็นตัวแทนแห่ง ‘ดาวบุ๋น’ (文星 หรือออกเสียงตามจีนกลางว่าดาว ‘เหวิน’ เป็นหนึ่งในดวงดาวในกลุ่มดาวหมีใหญ่) มีตำนานว่าสายพิณเส้นที่หกนี้ถูกเพิ่มเข้ามาโดยองค์โจวเหวินหวาง ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว (ปี 1152-1050 ก่อนคริสตกาล) เพื่อเป็นที่ระลึกถึงโอรสที่วายชนม์ไป สายพิณเซ่ากงนี้แฝงด้วยปรัชญาของการใช้ความอ่อนโยนเข้าสยบความแข็งแกร่ง

    และเส้นที่เจ็ดเรียกว่า เซ่าซาง (少商)เป็นตัวแทนแห่ง ‘ดาวบู๊’ (武星 หรือออกเสียงตามจีนกลางว่าดาว ‘อู่’ เป็นอีกหนึ่งในดวงดาวในกลุ่มดาวหมีใหญ่เช่นกัน) มีตำนานว่าสายพิณเส้นที่เจ็ดนี้ถูกเพิ่มเข้ามาโดยองค์โจวอู่หวางแห่งราชวงศ์โจว เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์ที่ล้มราชวงศ์ซางได้สำเร็จ สายพิณเซ่าซางนี้แฝงด้วยปรัชญาของการใช้ความแข็งแกร่งเข้าสยบความอ่อนแอ

    ดังนั้น ชื่อของนางเอกที่คนเขาชมว่าความหมายดีนั้น ก็คือแปลว่าเป็นคนเข้มแข็งเป็นผู้ชนะค่ะ และเพื่อนเพจที่ได้ดูละคร <ดาราจักรรักลำนำใจ> คงพอจำได้ว่านางเอกมีพี่ชายฝาแฝดนามว่า เซ่ากง ที่มีบุคลิกเป็นคนนุ่มนิ่มอยู่หนึ่งคน ทีนี้คงพอเข้าใจถึงความหมายแฝงอันบ่งบอกบุคลิกของสองพี่น้องฝาแฝดคู่นี้อันมาจากชื่อเซ่ากงและเซ่าซางแล้วนะคะ

    (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory)

    Credit รูปภาพจาก:
    https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g40713266/love-like-the-galaxy-ending/
    https://zhuanlan.zhihu.com/p/21940180
    Credit ข้อมูลรวบรวมจาก:
    บทความเรื่อง “คัมภีร์พิณ ดนตรีแห่งลมปราณและจิตวิญญาณ” โดย ดร.อัญชลี กิ๊บบินส์
    https://www.jianshu.com/p/11cc57a753ad
    https://baike.baidu.com/item/宫商角徵羽/85388
    https://baike.baidu.com/item/少商/10047831
    https://www.sohu.com/a/566244575_120498438

    #ดาราจักรรักลำนำใจ #สายพิณจีน #เซ่าซาง #เซ่ากง #กู่ฉิน
    ขออภัยที่มาอัพเรื่องให้อ่านช้า (อีกแล้ว) เพราะ Storyฯ หมดเวลาไปกับการเตรียมทริปเที่ยวหน้าหนาวค่ะ วันนี้ยังคงมีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยจากละครเรื่อง <ดาราจักรรักลำนำใจ> มาเล่าให้ฟัง เป็นเรื่องเกี่ยวกับชื่อของนางเอกเฉินเซ่าซาง ที่ในละครมีกล่าวถึงหลายครั้งว่าแปลว่า ‘สายพิณ’ และถึงขนาดองค์ฮองเฮายังตรัสชมว่าเป็นชื่อที่ดี เพื่อนเพจที่ได้ดูละครเรื่องนี้รู้สึกงงกันบ้างไหมว่า มีชื่อเป็นสายพิณมันดียังไงคะ? แน่นอนว่าเรากำลังคุยกันถึงพิณโบราณของจีนหรือที่เรียกว่า ‘กู่ฉิน’ (古琴) ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดมาก่อนยุคสมัยชุนชิวและการดีดพิณถือเป็นศิลปะชั้นสูงที่แฝงไว้ด้วยปรัชญาชีวิต โดยมีการกล่าวถึงปรัชญาเหล่านี้ในบันทึกเกี่ยวกับพิธีการโบราณสมัยราชวงศ์โจว วันนี้ Storyฯ จะกล่าวถึงชื่อเรียกและปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับสายพิณ แรกเริ่มเลยกู่ฉินมีเพียงสายพิณห้าเส้น เรียกกันว่า ‘กงซางเจวี๋ยจื่ออวี่’ ซึ่งชื่อเรียกเหล่านี้มาจากดวงดาว สรุปได้ดังนี้ 1. กง (宫) : เป็นเส้นที่ใหญ่สุด เสียงทุ้มหนักแน่น เป็นสัญลักษณ์แห่งราชัน แฝงด้วยปรัชญาแห่งการปกครองและความเป็นเจ้าคนนายคน และจัดเป็นตัวแทนแห่งธาตุดินหรือ ‘ดาวดิน’ (คือชื่อเรียกภาษาจีนของดาวเสาร์) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘โด’ นั่นเอง 2. ซาง (商) : เป็นสัญลักษณ์ของข้าราชสำนักหรือรัฐบุรุษ แฝงด้วยปรัชญาแห่งการบริหารงาน และจัดเป็นตัวแทนแห่งธาตุทองหรือ ‘ดาวทอง’ (ดาวศุกร์) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘เร’ 3. เจวี๋ย (角) : เป็นสัญลักษณ์ของประชาชน แฝงด้วยปรัชญาแห่งการเติบโตจากผืนดิน และเป็นตัวแทนแห่งธาตุไม้หรือ ‘ดาวไม้’ (ดาวพฤหัส) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘มี’ 4. จื่อ (徵) : เป็นสัญลักษณ์แห่งทุกสรรพสิ่งที่จับต้องไม่ได้ แฝงด้วยปรัชญาแห่งการเจริญงอกงาม และเป็นตัวแทนแห่งธาตุไฟหรือ ‘ดาวไฟ’ (ดาวอังคาร) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘ฟา’ 5. อวี่ (羽) : เป็นสัญลักษณ์แห่งทุกสรรพสิ่งที่จับต้องได้ แฝงด้วยปรัชญาแห่งการหล่อหลอมกลมเกลียวและเป็นตัวแทนแห่งธาตุน้ำหรือ ‘ดาวน้ำ’ (ดาวพุธ) คีย์ของสายพิณเส้นนี้คือ ‘ซอล’ ต่อมากู่ฉินจึงถูกเพิ่มสายพิณขึ้นมาอีกสองเส้น จนครบคีย์ ‘ลา’ และ ‘ที’ โดยเส้นที่หกเรียกว่า ‘เซ่ากง’ (少宫) เป็นตัวแทนแห่ง ‘ดาวบุ๋น’ (文星 หรือออกเสียงตามจีนกลางว่าดาว ‘เหวิน’ เป็นหนึ่งในดวงดาวในกลุ่มดาวหมีใหญ่) มีตำนานว่าสายพิณเส้นที่หกนี้ถูกเพิ่มเข้ามาโดยองค์โจวเหวินหวาง ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว (ปี 1152-1050 ก่อนคริสตกาล) เพื่อเป็นที่ระลึกถึงโอรสที่วายชนม์ไป สายพิณเซ่ากงนี้แฝงด้วยปรัชญาของการใช้ความอ่อนโยนเข้าสยบความแข็งแกร่ง และเส้นที่เจ็ดเรียกว่า เซ่าซาง (少商)เป็นตัวแทนแห่ง ‘ดาวบู๊’ (武星 หรือออกเสียงตามจีนกลางว่าดาว ‘อู่’ เป็นอีกหนึ่งในดวงดาวในกลุ่มดาวหมีใหญ่เช่นกัน) มีตำนานว่าสายพิณเส้นที่เจ็ดนี้ถูกเพิ่มเข้ามาโดยองค์โจวอู่หวางแห่งราชวงศ์โจว เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์ที่ล้มราชวงศ์ซางได้สำเร็จ สายพิณเซ่าซางนี้แฝงด้วยปรัชญาของการใช้ความแข็งแกร่งเข้าสยบความอ่อนแอ ดังนั้น ชื่อของนางเอกที่คนเขาชมว่าความหมายดีนั้น ก็คือแปลว่าเป็นคนเข้มแข็งเป็นผู้ชนะค่ะ และเพื่อนเพจที่ได้ดูละคร <ดาราจักรรักลำนำใจ> คงพอจำได้ว่านางเอกมีพี่ชายฝาแฝดนามว่า เซ่ากง ที่มีบุคลิกเป็นคนนุ่มนิ่มอยู่หนึ่งคน ทีนี้คงพอเข้าใจถึงความหมายแฝงอันบ่งบอกบุคลิกของสองพี่น้องฝาแฝดคู่นี้อันมาจากชื่อเซ่ากงและเซ่าซางแล้วนะคะ (ป.ล. หากอ่านแล้วชอบใจ อย่าลืมกดติดตามเพจนี้เพื่อป้องกันการกีดกันของเฟซบุ๊คด้วยนะคะ #StoryfromStory) Credit รูปภาพจาก: https://www.harpersbazaar.com/tw/culture/drama/g40713266/love-like-the-galaxy-ending/ https://zhuanlan.zhihu.com/p/21940180 Credit ข้อมูลรวบรวมจาก: บทความเรื่อง “คัมภีร์พิณ ดนตรีแห่งลมปราณและจิตวิญญาณ” โดย ดร.อัญชลี กิ๊บบินส์ https://www.jianshu.com/p/11cc57a753ad https://baike.baidu.com/item/宫商角徵羽/85388 https://baike.baidu.com/item/少商/10047831 https://www.sohu.com/a/566244575_120498438 #ดาราจักรรักลำนำใจ #สายพิณจีน #เซ่าซาง #เซ่ากง #กู่ฉิน
    WWW.HARPERSBAZAAR.COM
    《星漢燦爛》第一部結局趙露思、吳磊定親!「疑商夫婦」高甜名場景回顧,凌不疑化身男友力頂級教科書
    《星漢燦爛》趙露思、吳磊的感情線看得太不過癮,期待《月升滄海》開始大撒糖!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/qHSRzSzTF28?si=TYmeYliHDkoFWJg7
    https://youtube.com/shorts/qHSRzSzTF28?si=TYmeYliHDkoFWJg7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/U7VjbcQrBZA?si=rpxEn5t4yvUF304q
    https://youtube.com/shorts/U7VjbcQrBZA?si=rpxEn5t4yvUF304q
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/OhE1uXerWd8?si=wqKicbZmdxXbBLqN
    https://youtube.com/shorts/OhE1uXerWd8?si=wqKicbZmdxXbBLqN
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/KiEypisEv6k?si=N2GqQEvBH8UTy6Hn
    https://youtube.com/shorts/KiEypisEv6k?si=N2GqQEvBH8UTy6Hn
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/Uqzu0CqCgEc?si=3zNOSsBRIbkUihLC
    https://youtube.com/shorts/Uqzu0CqCgEc?si=3zNOSsBRIbkUihLC
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/EN4UISsUI6w?si=zHH29oCyUlxuivhs
    https://youtube.com/shorts/EN4UISsUI6w?si=zHH29oCyUlxuivhs
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/Blwu86ANzR0?si=NqdCSrO-h0vYZgf9
    https://youtube.com/shorts/Blwu86ANzR0?si=NqdCSrO-h0vYZgf9
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/C4zbtsSIjfs?si=SgUChWLdVm2RGrxj
    https://youtube.com/shorts/C4zbtsSIjfs?si=SgUChWLdVm2RGrxj
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/tNjZO4rnR50?si=u5wUbclEMknZ1oOP
    https://youtube.com/shorts/tNjZO4rnR50?si=u5wUbclEMknZ1oOP
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/MoGXHNLNGoE?si=MWOOktB1n2rp2EEU
    https://youtu.be/MoGXHNLNGoE?si=MWOOktB1n2rp2EEU
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/MIk98GDrKIQ?si=jBh7C_XBQ3fYoAzh
    https://youtu.be/MIk98GDrKIQ?si=jBh7C_XBQ3fYoAzh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 19 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/ve77_va-Rz0?si=WueNde4TxkObvlSl
    https://youtu.be/ve77_va-Rz0?si=WueNde4TxkObvlSl
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/A4ZJ4FgMTYM?si=RqbsUa_inVv2YpzN
    https://youtube.com/shorts/A4ZJ4FgMTYM?si=RqbsUa_inVv2YpzN
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/ESfd63Txx0Y?si=R1rQ6zD425iIHdFh
    https://youtu.be/ESfd63Txx0Y?si=R1rQ6zD425iIHdFh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/z4aIP6wIKkA?si=RXMV3Bfa_9l5ivwX
    https://youtube.com/shorts/z4aIP6wIKkA?si=RXMV3Bfa_9l5ivwX
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/a1ZWEw2rfhU?si=VTgxlZf2SxaCLX0M
    https://youtube.com/shorts/a1ZWEw2rfhU?si=VTgxlZf2SxaCLX0M
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/kyBHTyfELWM?si=aP1fiyoo-Fu9v_xP
    https://youtu.be/kyBHTyfELWM?si=aP1fiyoo-Fu9v_xP
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 17 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 168
    ชื่อบทธรรม : -๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168
    เนื้อความทั้งหมด :-

    ๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์วิญญาณหก
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหก เหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และวิญญาณทางใจ.
    ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/60/117.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=168

    สัทธรรมลำดับที่ : 169
    ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
    -ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
    สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ. สิ่งนั้น
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขื่นบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง,
    ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง
    (ดังนี้เป็นต้น).
    -ภิกษุ ท. ! #เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล)
    ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87/159.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=169

    สัทธรรมลำดับที่ : 170
    ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งวิญญาณ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อุปมาแห่งวิญญาณ
    --ภิกษุ ท. ! นักแสดงกลก็ตาม ลูกมือของนักแสดงกลก็ตาม
    แสดงกลอยู่ที่ทางใหญ่สี่แยก.
    บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ)
    เห็นกลนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
    เมื่อบุรุษผู้นั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    กลนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสาร
    ในกลนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ
    วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม
    เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม
    เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ;
    ภิกษุสังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง)
    วิญญาณนั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย
    เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
    วิญญาณนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
    และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
    -ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในวิญญาณนั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/134/246.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/134/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๓/๒๔๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=170

    สัทธรรมลำดับที่ : 171
    ชื่อบทธรรม : -วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/274/471.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/274/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๙/๔๗๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=171
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งวิญญาณขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 168 ชื่อบทธรรม : -๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168 เนื้อความทั้งหมด :- ๕. วิภาคแห่งวิญญาณขันธ์วิญญาณหก --ภิกษุ ท. ! วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! หมู่แห่งวิญญาณหก เหล่านี้ คือ วิญญาณทางตา, วิญญาณทางหู, วิญญาณทางจมูก, วิญญาณทางลิ้น, วิญญาณทางกาย, และวิญญาณทางใจ. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า วิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/60/117. http://etipitaka.com/read/thai/17/60/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๕/๑๑๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/75/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=168 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=168 สัทธรรมลำดับที่ : 169 ชื่อบทธรรม :- ความหมายของคำว่า “วิญญาณ” https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169 เนื้อความทั้งหมด :- --ความหมายของคำว่า “วิญญาณ” -ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ. สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งอะไร ? สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง, ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขื่นบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง, ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง (ดังนี้เป็นต้น). -ภิกษุ ท. ! #เพราะกิริยาที่รู้แจ้ง (ต่ออารมณ์ที่มากระทบ) ได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/87/159. http://etipitaka.com/read/thai/17/87/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/17/106/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=169 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=169 สัทธรรมลำดับที่ : 170 ชื่อบทธรรม :- อุปมาแห่งวิญญาณ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170 เนื้อความทั้งหมด :- --อุปมาแห่งวิญญาณ --ภิกษุ ท. ! นักแสดงกลก็ตาม ลูกมือของนักแสดงกลก็ตาม แสดงกลอยู่ที่ทางใหญ่สี่แยก. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นกลนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย. เมื่อบุรุษผู้นั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, กลนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. --ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสาร ในกลนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ วิญญาณ ชนิดใดชนิดหนึ่ง มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือใกล้ก็ตาม ; ภิกษุสังเกตเห็น (การเกิดขึ้นแห่ง) วิญญาณนั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, วิญญาณนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป. -ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในวิญญาณนั้น จะพึงมีได้อย่างไร.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/134/246. http://etipitaka.com/read/thai/17/134/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๓/๒๔๖. http://etipitaka.com/read/pali/17/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=170 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=170 สัทธรรมลำดับที่ : 171 ชื่อบทธรรม : -วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171 เนื้อความทั้งหมด :- --วิญญาณมีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! วิญญาณทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/274/471. http://etipitaka.com/read/thai/17/274/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๙/๔๗๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=171 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=171 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    สัทธรรมลำดับที่ : 594
    ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่
    ....
    ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ
    ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ
    ดังนี้
    ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย
    .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์)..
    .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์)..
    .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์)..
    .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ
    พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป
    ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย
    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
    เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว
    ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว
    พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
    --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์
    ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ
    *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓
    *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ....
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน,
    รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว
    ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ
    การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ?
    “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ?
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย
    "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ
    ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา
    การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย
    ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้
    http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ
    โดยรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.

    (ในกรณีแห่งการ
    ๒.ฟังเสียงด้วยหู
    ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก
    ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น
    ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ
    ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40
    ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ สัทธรรมลำดับที่ : 594 ชื่อบทธรรม : -หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 เนื้อความทั้งหมด :- --หลักการทดสอบตัวเองว่าเป็นอรหันต์หรือไม่ .... ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับฯลฯ ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่พระองค์ตรัสว่า ภิกษุ​ผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ๆ ดังนี้ ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า --ดูกรภิกษุ ถ้าว่าภิกษุ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน เห็นรูปด้วยตา(จักขุนทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน จักขุนทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=จกฺขุนฺทฺริเย .. ฟังเสียงด้วยหู (โสตินทรีย์).. .. ดมกลิ่นด้วยจมูก (ฆานินทรีย์).. .. ลิ้มรสด้วยลิ้น (ชิวหินทรีย์).. .. ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย(โผฏฐัพินทรีย์)​ และ พิจารณาเห็นความ เกิดขึ้นและความเสื่อมไป ใน รับรู้ธรรมารมย์ด้วยใจ(มนินทรีย์)​ ย่อมเบื่อหน่ายใน มนินทรีย์ http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=มนินฺทฺริเย เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี --ดูกรภิกษุภิกษุ​ #เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอินทรีย์ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้แล​ฯ *--สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๖/๒๔๓ *--http://etipitaka.com/read/pali/18/176/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 .... --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้นมีอยู่ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้วไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์ #การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! หลักเกณฑ์นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ๑.เห็นรูปด้วยตาแล้ว http://etipitaka.com/read/pali/18/174/?keywords=จกฺขุนา รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งเกิดมีอยู่ในภายใน ว่าเกิดมีอยู่ในภายใน, รู้ชัด ราคะ โทสะ โมหะ อันไม่เกิดมีอยู่ในภายใน ว่าไม่เกิดมีอยู่ในภายใน. --ภิกษุ ท. ! เมื่อเธอรู้ชัดอยู่อย่างนี้แล้ว ยังจำเป็นอยู่อีกหรือ ที่จะต้องรู้ธรรมทั้งหลายด้วยอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการ การเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตน ? “ข้อนั้นหามิได้ พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! ธรรมทั้งหลายเป็นสิ่งที่ต้องเห็นด้วยปัญญาแล้ว จึงรู้ มิใช่หรือ ? http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=ธมฺมา+ปญฺญาย "ข้อนั้น เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ท. ! นี่แหละ หลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อบุคคลอาศัยแล้ว ไม่ต้องอาศัยความเชื่อ ความชอบใจ การฟังตาม ๆ กันมา การตริตรึกไปตามอาการการเห็นว่ามันเข้ากันได้กับทิฏฐิของตนเลย ก็อาจพยากรณ์การบรรลุอรหัตตผลของตนได้ http://etipitaka.com/read/pali/18/175/?keywords=พฺยากโรติ โดยรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. (ในกรณีแห่งการ ๒.ฟังเสียงด้วยหู ๓.ดมกลิ่นด้วยจมูก ๔.ลิ้มรสด้วยลิ้น ๕.ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยผิวกาย และ ๖.รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจ ก็ได้ตรัสต่อไปอีกโดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งการเห็นรูปด้วยตา ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/233-235/239-242. http://etipitaka.com/read/thai/18/233/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๓-๑๗๕/๒๓๙-๒๔๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/173/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=594 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40&id=594 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=40 ลำดับสาธยายธรรม : 40​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_40.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป
    สัทธรรมลำดับที่ : 962
    ชื่อบทธรรม :- การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์
    มีความประสงค์จะเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่าหรือป่าเปลี่ยว”.
    --อุบาลี ! เสนาสนะอันสงัด คือป่าหรือป่าเปลี่ยว
    http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=อรญฺญวนปตฺถานิ+ปนฺตานิ+เสนาสนานิ
    อยู่ได้ยาก ปวิเวกทำได้ยาก ความอยู่คนเดียว
    เป็นสิ่งที่ยินดีได้ยาก ป่ามักจะนำไปเสีย ซึ่งใจของภิกษุผู้ไม่ได้สมาธิอยู่.
    --อุบาลี ! ผู้ใดพูดว่า
    “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่าหรือป่าเปลี่ยว”
    http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=วนานิ+สมาธึ
    ดังนี้
    เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้ คือ จิตจักจมลงหรือจิตจักปลิวไป.
    --อุบาลี ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใหญ่ มีอยู่.
    ช้างพลายสูงเจ็ดรัตน์(๑๔​ ฟุต)​*--๑ หรือเจ็ดรัตน์ครึ่ง
    มาสู่ที่นั้นแล้วคิดว่า
    “เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง
    แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา”
    ดังนี้;
    ช้างนั้น กระทำได้ดังนั้น, เพราะเหตุไร ?
    --อุบาลี ! เพราะเหตุว่า ช้างนั้นตัวใหญ่ จึงอาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึกได้.
    ครั้งนั้น
    กระต่ายหรือแมวป่า มาเห็นช้างนั้นแล้วคิดว่า
    “ช้างจะเป็นอะไรที่ไหนมา เราก็จะเป็นอะไรที่ไหนไป
    ดังนั้น เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง
    แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา”
    ดังนี้;
    กระต่าย หรือแมวป่านั้น กระโจนลงสู่ห้วงน้ำนั้น
    โดยไม่พิจารณา ผลที่มันหวังได้ก็คือ จมดิ่งลงไป หรือลอยไปตามกระแสน้ำ.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
    เพราะว่ากระต่ายหรือแมวป่านั้นตัวมันเล็ก จึงไม่อาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึก,
    นี้ฉันใด;
    --อุบาลี ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ผู้ใด พูดว่า
    “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่า หรือป่าเปลี่ยว”
    ดังนี้
    เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้คือ จิตจักจมลง หรือจิตจักปลิวไป.
    --อุบาลี ! เธอ จงอยู่ในหมู่สงฆ์เถิด ความผาสุกจักมีแก่เธอผู้อยู่ในหมู่สงฆ์,
    ดังนี้.-

    *--๑. หนึ่งรัตน์เท่ากับ ๒ วิทัตถิ,
    เท่าที่ทดสอบกันในประเทศไทยแล้ว ปรากฏว่า หนึ่งวิทัตถิ ประมาณเท่ากับ ๑ ฟุต.--

    (เนื้อความข้อนี้แสดงว่า การออกไปอยู่ป่ามิได้เหมาะสำหรับทุกคน.
    ผู้ใดคิดว่าจักบรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน กระทั่งถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอันไม่มีอาสวะ
    ด้วยเหตุเพียงสักว่าอยู่ป่าอย่างเดียวนั้น ไม่อาจจะสำเร็จได้
    เพราะไม่ชื่อว่า เป็นผู้ตามถึงประโยชน์ตน (อนุปฺปตฺตสทตฺถ) ได้ด้วยเหตุสักว่าการอยู่ป่า ;
    ดังนั้นพระองค์จึงตรัสกะภิกษุอุบาลีว่า : -)

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/172/99.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/172/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๑๖/๙๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=962
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป สัทธรรมลำดับที่ : 962 ชื่อบทธรรม :- การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962 เนื้อความทั้งหมด :- --การอยู่ป่ากับการเจริญสมาธิสำหรับภิกษุบางรูป --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ มีความประสงค์จะเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่าหรือป่าเปลี่ยว”. --อุบาลี ! เสนาสนะอันสงัด คือป่าหรือป่าเปลี่ยว http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=อรญฺญวนปตฺถานิ+ปนฺตานิ+เสนาสนานิ อยู่ได้ยาก ปวิเวกทำได้ยาก ความอยู่คนเดียว เป็นสิ่งที่ยินดีได้ยาก ป่ามักจะนำไปเสีย ซึ่งใจของภิกษุผู้ไม่ได้สมาธิอยู่. --อุบาลี ! ผู้ใดพูดว่า “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่าหรือป่าเปลี่ยว” http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=วนานิ+สมาธึ ดังนี้ เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้ คือ จิตจักจมลงหรือจิตจักปลิวไป. --อุบาลี ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใหญ่ มีอยู่. ช้างพลายสูงเจ็ดรัตน์(๑๔​ ฟุต)​*--๑ หรือเจ็ดรัตน์ครึ่ง มาสู่ที่นั้นแล้วคิดว่า “เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา” ดังนี้; ช้างนั้น กระทำได้ดังนั้น, เพราะเหตุไร ? --อุบาลี ! เพราะเหตุว่า ช้างนั้นตัวใหญ่ จึงอาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึกได้. ครั้งนั้น กระต่ายหรือแมวป่า มาเห็นช้างนั้นแล้วคิดว่า “ช้างจะเป็นอะไรที่ไหนมา เราก็จะเป็นอะไรที่ไหนไป ดังนั้น เราจะลงสู่ห้วงน้ำนี้ แล้วเล่นน้ำ ล้างหูบ้าง เล่นน้ำ ล้างหลังบ้าง แล้วพึงอาบพึงดื่ม พึงขึ้นจากห้วงน้ำแล้วหลีกไปตามปรารถนา” ดังนี้; กระต่าย หรือแมวป่านั้น กระโจนลงสู่ห้วงน้ำนั้น โดยไม่พิจารณา ผลที่มันหวังได้ก็คือ จมดิ่งลงไป หรือลอยไปตามกระแสน้ำ. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? เพราะว่ากระต่ายหรือแมวป่านั้นตัวมันเล็ก จึงไม่อาจหยั่งลงในห้วงน้ำลึก, นี้ฉันใด; --อุบาลี ! ข้อนี้ก็ฉันนั้น กล่าวคือ ผู้ใด พูดว่า “เราไม่ได้สมาธิ เราจักไปอยู่ในเสนาสนะอันสงัดคือป่า หรือป่าเปลี่ยว” ดังนี้ เขานั้น พึงหวังผลข้อนี้คือ จิตจักจมลง หรือจิตจักปลิวไป. --อุบาลี ! เธอ จงอยู่ในหมู่สงฆ์เถิด ความผาสุกจักมีแก่เธอผู้อยู่ในหมู่สงฆ์, ดังนี้.- *--๑. หนึ่งรัตน์เท่ากับ ๒ วิทัตถิ, เท่าที่ทดสอบกันในประเทศไทยแล้ว ปรากฏว่า หนึ่งวิทัตถิ ประมาณเท่ากับ ๑ ฟุต.-- (เนื้อความข้อนี้แสดงว่า การออกไปอยู่ป่ามิได้เหมาะสำหรับทุกคน. ผู้ใดคิดว่าจักบรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน กระทั่งถึงสัญญาเวทยิตนิโรธอันไม่มีอาสวะ ด้วยเหตุเพียงสักว่าอยู่ป่าอย่างเดียวนั้น ไม่อาจจะสำเร็จได้ เพราะไม่ชื่อว่า เป็นผู้ตามถึงประโยชน์ตน (อนุปฺปตฺตสทตฺถ) ได้ด้วยเหตุสักว่าการอยู่ป่า ; ดังนั้นพระองค์จึงตรัสกะภิกษุอุบาลีว่า : -) #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/172/99. http://etipitaka.com/read/thai/24/172/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๒๑๖/๙๙. http://etipitaka.com/read/pali/24/216/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=962 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=962 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว